Page 7 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเจาะสภาวะ
P. 7

185
ติดกับอาการพระไตรลักษณ์การเกิดดับ ก็คือการเจาะสภาวะ สาคัญตรงที่ว่าเมื่อเกาะติดก็ต้องสังเกตเกิด ดับเปลี่ยนแปลงไป; เอาความรู้สึกเข้าไปแตะแต่ละอาการ เข้าไปชนแต่ละครั้ง ก็คือการเจาะสภาวะ สาคัญ ว่า สาคัญมาก ๆ สาคัญนะ สาคัญมากถึง ๔ ครั้งแล้ว ก็คือว่าเข้าไปรู้ทุกครั้งเขาดับอย่างไร
สมมติ เวลาเรามุ่งเข้าไปกาหนดรู้อาการเกิดดับของเวทนา พอมุ่งเข้าไปปุ๊บ บางครั้งอาการเขานิ่ง ๆ อยู่ เราจะรู้สึกเหมือนเขาต่อเนื่อง เรารู้สึกเขายังอยู่ ยังอยู่... ไม่เห็นการเปลี่ยน แต่สังเกตตอนที่ความรู้สึก หรือสติเราไปแตะถูกจุด ที่เฉพาะจุดที่เราแตะนี่เขาเปลี่ยนไหม ? อาการทั้งหมดที่เป็นกลุ่มอาจจะไม่เปลี่ยน แต่จุดสัมผัสที่สติเข้าไปกระทบนี่เขาเปลี่ยนไหม ? เปลี่ยน ใช่ไหม ? ไม่มีนิ่งหรอก เขามีอาการเปลี่ยน จะมากจะน้อยนั่นอีกเรื่องหนึ่ง นี่คือการสังเกต เพราะฉะนั้น ไม่ใช่ว่าเราไปแตะแล้วให้ก้อนนี้หายทั้งหมด
ที่ถามว่า เขาเปลี่ยนยังไง ? สังเกตจุดที่แตะ ถ้าอารมณ์ที่เป็นก้อนนี่เขาดับช้า แต่ว่าจุดที่แตะเขามี อาการขยับนิดหนึ่ง แตะแล้วแวบไป ขยับนิดหนึ่ง นิดหนึ่ง... ให้ไปรู้จุดนั้นใหม่ซ้า ๆ ซ้า ๆ แตะครั้งนี้ขยับ แบบนี้ แตะครั้งต่อไปขยับกว้างขึ้น แตะครั้งต่อไปเขาเริ่มชัดขึ้น ชัดขึ้น ชัดขึ้น... นั่นคืออาการเกิดดับ นี่คือ ความไม่เที่ยง เราก็จะเห็นการเปลี่ยนแปลง กาหนดต่อไปเรื่อย ๆ ต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าก้อนนี้จะเปลี่ยนไป ถา้ จบทงั้ บลั ลงั กแ์ ลว้ กอ้ นนไี้ มเ่ ปลยี่ น...กเ็ อาไวบ้ ลั ลงั กห์ นา้ ! ถา้ ฝากไวไ้ ดก้ ด็ ี แตพ่ ออกี บลั ลงั กห์ นงึ่ หาไมเ่ จอ แล้ว เขาจะเปลี่ยนไป แต่วิธีการเจาะสภาวะคือเข้าไปแตะแบบนี้ การกาหนดอาการมุ่งไปรู้อาการเกิดดับ
การที่เราสังเกตแบบนี้ เราใส่ใจพิจารณา เขาเรียกโยนิโสมนสิการ ธัมมวิจยะ ไปด้วยกันหมดเลย เพราะเราใส่ใจที่จะเข้าไปกาหนดรู้ มีเจตนาที่จะดูว่าเปลี่ยนอย่างไร ตรงที่เห็นว่าเขาเปลี่ยนช้าเปลี่ยนเร็ว เห็นหนึ่งขณะ/สองขณะ/สามขณะแล้วก็ดับไป เป็นอาการพระไตรลักษณ์ กลายเป็นปัญญาวิปัสสนาหรือ ภาวนามยปัญญา ปัญญาที่เห็นความเป็นอนิจจัง-ทุกขัง-อนัตตา ถ้ากาหนดรู้แบบนี้จะไม่มีความรู้สึกว่า เป็นเรา มีแต่สติเข้าไปรู้แล้วก็เปลี่ยน รู้แล้วก็เปลี่ยน... มีแต่ความปวดอย่างเดียวจะไม่รู้สึกว่าเราปวด แม้ ความปวดจะมากก็รู้สึกว่าปวดก็ส่วนหนึ่งจิตก็ส่วนหนึ่ง ต่อไปก็แยกกันชัดขึ้น กาหนดรู้แบบนี้ นี่คือการ เจาะสภาวะ
เวลาเดินจงกรม เราก็มุ่งเจาะสภาวะเหมือนกัน มุ่งไปที่อาการเกิดดับของการเดิน ทีนี้ บางทีอาการ เกดิ ดบั เขาอาจจะปรากฏชดั เปลยี่ นตา แหนง่ ไป บางครงั้ ชดั ตอนทยี่ กแลว้ กด็ บั ยกแลว้ กด็ บั ... บางครงั้ กระทบ ดับ กระทบดับ... บางครั้งไม่เห็นดับ เห็นแต่ว่ายกแล้วก็เกิดวื้บขึ้นมา วื้บขึ้นมา วื้บขึ้นมา... บางครั้งตอน ก้าวไปแค่หนืด ๆ แล้วก็ฟึบไป หนืด ๆ แล้วก็ฟึบไป ไม่มีอาการของเท้า แต่รู้สึกหนืด ๆ แล้วก็ฟึบไป แต่ บางครั้งพอยกขึ้นมาหนืด ๆ แต่พอก้าวปุ๊บเบาหวิว แล้วก็หยุดไป เบาหวิวก็หยุด... จริง ๆ นั่นคืออาการ เกิดดับของเขา ถามว่า ตรงไหนเกิดดับ ?
ไ อ ท้ หี ่ น ดื แ ล ว้ ก ข็ า ด ไ ป ห น ดื แ ล ว้ ก ข็ า ด ป บ๊ ึ แ ล ว้ ก เ็ บ า ห ว วิ ไ ป แ ล ว้ ก ด็ บั ก ร ะ ท บ แ ล ว้ ก ด็ บั น คี ่ อื ล กั ษ ณ ะ อาการเกิดดับอย่างหนึ่ง ไม่ใช่อาการวาบ ๆ อย่างเดียวที่เรียกว่าเกิดดับ อาการประเภทไหนก็ตามที่เกิดขึ้น มาแล้วหายไป มันหายแบบเลือน ๆ ๆ หาย หรือขาดวึบหาย วึบหาย... ก็เรียกว่าดับเหมือนกัน เหมือนเรา ปิดไฟ เรากดสวิตช์ทีเดียวดับปึ๊บ กับเราหมุนหรี่แล้วก็มอด...แล้วก็ดับไป ก็คือดับเหมือนกัน เหมือนไฟที่


































































































   5   6   7   8   9