Page 24 - ดับตัวตน ค้นธรรม
P. 24

16
เมื่อยกจิตขึ้นสู่ความว่างได้แล้ว เรามาลองทาตามขั้นตอนนิดหนึ่ง ยกจิตขึ้นสู่ความว่าง ทาจิตให้ว่าง ๆ ให้กว้าง กว้างกว่าห้องนี้ กว้างออก ไป... จนรู้สึกว่ารูปนี้ตั้งอยู่ในที่ว่าง ๆ คาว่า “ว่าง” นี้ ถ้าเป็นความรู้สึกที่ วา่ งหรอื จติ ทวี่ า่ ง เราจะรสู้ กึ ไดถ้ งึ ความวา่ ง ความโลง่ ความโปรง่ ความเบา เป็นความว่างที่ให้ความรู้สึกโล่ง โปร่ง เบา ไม่ใช่แค่ว่าง ๆ หรือว่างจาก ความความคิดเท่านั้น ไม่ใช่ว่างจากอารมณ์ แต่ว่างจากตัวตน ว่างจาก ความรู้สึกว่าเป็นเราเป็นเขา ว่างจากอุปาทาน
จิตที่ว่างจากอุปาทานก็ยังทาหน้าที่รับรู้อยู่ ตรงนี้แหละสิ่งสาคัญ มาก ในการปฏิบัติธรรม ในการรับรู้อารมณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏขึ้นมาเฉพาะ หน้าที่เป็นอารมณ์ปัจจุบัน ถ้าเรารับรู้ด้วยความรู้สึกที่ไม่มีตัวตน ด้วยความ รู้สึกที่ว่าง ด้วยความรู้สึกที่เบา ด้วยความรู้สึกที่โล่ง ๆ ด้วยความรู้สึกที่ สบาย การรับรู้อย่างไม่มีตัวตนตรงนี้ ถ้าเราพิจารณา เราจะเห็นว่า ความ รสู้ กึ ทไี่ มม่ ตี วั ตนแตม่ สี ตชิ ดั เจน ไมบ่ อกวา่ เปน็ เราแตย่ งั รบั รถู้ งึ รปู ทนี่ งั่ อยไู่ ด้
ทีนี้ เมื่อความรู้สึกว่างแล้ว หรือเมื่อยกจิตขึ้นสู่ความว่างได้แล้ว ลองพิจารณาดูว่า อาการอะไรที่ปรากฏชัดที่สุดในความว่างนั้น ในความ รสู้ กึ ทวี่ า่ ง ๆ ? ในความรสู้ กึ ทวี่ า่ ง ๆ ทคี่ ลมุ รปู อยู่ ลองดู อาการอะไรปรากฏ ชัดที่สุด ? ก่อนอื่น ถ้าในความว่างข้างหน้าไม่มีอะไรปรากฏขึ้นมา ขอให้ เราย้อนกลับมาดูที่รูป ดูตัวที่นั่งอยู่ ตรงนี้เขาเรียกว่า “รูป” ตัวที่นั่งอยู่เป็น เพียงรูป ๆ หนึ่งที่ตั้งอยู่ จิตที่ว่างเป็นนามเป็นตัวรู้ แล้วย้อนกลับมาดูว่าที่ รูปที่นั่งอยู่ก็มีอาการอย่างไร มีอะไรปรากฏขึ้นมา
คาว่า “มีอะไร” ที่นี้หมายถึงทั้งลมหายใจ ทั้งอาการพองยุบ ทั้ง อาการกระเพื่อมไหว ทั้งอาการเต้นของหัวใจ รวมทั้งเวทนา มีอาการอย่าง


































































































   22   23   24   25   26