Page 82 - ดับตัวตน ค้นธรรม
P. 82

74
กราบเรยี นวา่ เหน็ ) แตไ่ มไ่ ดบ้ อกวา่ เปน็ กลอ่ ง แตโ่ ดยสมมตเิ รารวู้ า่ มนั เปน็ อันนั้นคือเราบอกได้ว่าเป็นรูปทรง ก็คือเราสมมติเรียกตามบัญญัติอยู่ว่า รูปนี้เป็นรูปทรงอยู่
แต่รูปทรงอันนี้มีกี่มิติ ขณะที่ใช้ความสงบรับรู้ ? (โยคีกราบเรียน ว่า ๒ มิติ) ขณะที่ ๒ มิติ ลองดูว่า เขามีรสชาติไหม ? (โยคีกราบเรียนว่า ไม่มี) เหมือนภาพถ่ายภาพหนึ่ง แล้วลองดูว่า ถ้าเราเอาความรู้สึกอันนี้ไป มองคน มองแต่ละคนนี่เป็นแค่ภาพถ่ายติดไว้อยู่บนผนัง ผนัง ผนัง... รสชาตกิ็จะหายไปสงัเกตเรามองคนเปน็แค่ภาพถา่ยจรงิๆนมิติทเี่กิดขึ้น กับใจเราก็เหมือนภาพถ่ายสะท้อนเข้าไปในความรู้สึกของเรา เพียงแต่ว่า เพราะมีวิญญาณเข้าไปครองมันจึงมีชีวิตขึ้นมา แล้วส่วนใหญ่เราไม่ได้ มองภาพเป็นภาพ มองภาพเป็นสิ่งที่มีรสชาติ เป็นมิติ หรือมีชีวิตขึ้นมา
แตถ่ า้ จติ เราสงบจรงิ ๆ เราจะเหน็ เปน็ แคม่ ติ หิ นงึ่ เปน็ ภาพ ๆ หนงึ่ ปรากฏขึ้นมา เพราะฉะนั้น ทุกครั้งที่เราเห็นเป็นภาพแบบนี้ รู้สึกเป็น อย่างไร ? มีผลต่อสภาพจิตเราอย่างไร ? (โยคีกราบเรียนว่า ไม่มี) การ ปรุงแต่ง กิเลสเกิดได้ไหม ? สังเกต ทาไมเราเห็นแบบนี้ได้ ? นี่แหละคือ การพิจารณาอย่างหนึ่ง ใช้จิตที่สงบทาหน้าที่รับรู้ แต่ถ้าเห็นแบบนี้บ่อย ๆ ลองดูว่าจิตเราจะเป็นอย่างไร ? เดี๋ยวแห้งแล้งนะ เห็นอะไรก็เฉยเมย... ไม่จาเป็น! “อุเบกขา” กับ “เฉยเมย” นี่ต่างกันนะ
ลองสังเกตดูนะ ภาษาที่เราใช้ ถ้าเราใช้แล้วจิตเรานิ่ง สงบ เป็น อุเบกขาวางเฉยที่กว้าง ก็จะมีพลัง ความวางเฉยอุเบกขาที่กว้าง จะสบาย ไม่วุ่นวาย แล้วก็ไม่ใช่ดิ่งอยู่กับอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่รับรู้ทุกอย่าง คือความรู้สึกอุเบกขาที่กว้าง กว้างอย่างไม่มีตัวตน สงบอย่างไม่มีตัวตน


































































































   80   81   82   83   84