Page 83 - ดับตัวตน ค้นธรรม
P. 83
ลองดูสิ ลองให้ความรู้สึกท่ีสงบของเราให้กว้างเท่ากับศาลาน้ี รู้สึกเป็น อย่างไร ? เฉยแบบอยู่แค่น้ีกับเฉยแล้วกว้างเท่าศาลา ? ความรู้สึกท่ีเฉย เฉยแล้วอยู่แค่น้ีกับเฉยแล้วกว้างออกไป รู้สึกเป็นอย่างไร ?
“อิสระ” ใช่ไหม ? รู้สึกสบาย อิสระ... แล้วฝ่ังน้ีรู้สึกเป็นอย่างไร ? (โยคกี ราบเรยี นวา่ ถา้ เฉพาะจดุ กจ็ ะรสู้ กึ แนน่ ๆ) พอกวา้ งออกรสู้ กึ ? (โยคี กราบเรียนว่า โล่ง ๆ) สบายขึ้น เห็นไหม ? ไม่จาเป็นต้องเฉยแล้วแคบ “โล่งแล้วอิสระ” เพราะฉะนั้น เลือกเอาว่าจะใช้แบบไหน อันนี้คือเปรียบ เทียบให้ดูว่าการที่เราจะวางเฉยกับอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ผิด! การ ที่เรารู้จักใช้อุเบกขากับชีวิตของเรา ไม่ผิด! และเป็นเรื่องที่ควรทาด้วยใน บางเรื่องบางโอกาส เพียงแต่ว่าอุเบกขาแบบไหนแล้วไม่เบียดเบียนตัวเอง
อ เุ บ ก ข า ก เ็ บ ยี ด เ บ ยี น ต วั เ อ ง ไ ด น้ ะ อ เุ บ ก ข า เ พ ร า ะ ม ตี วั ต น ห ร อื แ ค บ ก็จะเป็นการทาให้ตัวเองรู้สึกไม่สบาย ไม่มีอิสระ รู้สึกหนัก ๆ ไม่คล่องตัว อันนั้นรู้สึกไม่ดี เพราะฉะนั้น วิธีก็คือให้กว้าง อุเบกขาแบบจิตของพรหม พรหมอยู่บนสวรรค์ เมตตาไม่มีขอบเขต อุเบกขาก็ไม่มีขอบเขต ไม่มี ประมาณ... อยู่ในบรรยากาศนั้น แล้วลองดูว่ารู้สึกอย่างไร ? วางเฉยเสีย บ้าง เฉย ๆ นั่งเฉย ๆ นั่งเฉย ๆ ไม่ทาอะไรหรือนั่งเฉย ๆ แล้วทางาน ? เอาแบบไหนดี ? นั่งเฉย ๆ แบบไม่ทาอะไร นั่งพัก นั่งปล่อย... ปล่อย อะไร ? ปล่อยความรู้สึกให้มันเฉย ๆ หรือปล่อยสติให้ล่องลอยไป หรือ ปล่อยใจให้เคลิบเคลิ้มกับอารมณ์ ?
ถ้าปล่อยให้เคลิบเคลิ้ม ไม่นั่งเฉยแล้วนะ นั่งเพลิดเพลินเสวย อารมณ์ไปเรื่อย ๆ แล้ว กับนั่งแล้วรู้สึกสงบ อิสระ สบาย แล้วก็ดูจิต ที่สบายตรงนั้นแหละ จิตที่อุเบกขานี่ไม่ใช่ปฏิเสธอารมณ์ เรารู้สึกสงบ
75