Page 125 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 125

ภาษาเราก็คือคิดต่อไป ระลึกอะไรขึ้นมาก็คิด ๆ ๆ ๆ ไปเรื่อย ๆ คิดเรื่อง โน้นคิดเรื่องนี้ คิดในแง่ดี จิตใจก็เป็นสุข คิดในแง่ไม่ดี จิตใจก็เป็นทุกข์ กลายเปน็ วา่ ปรงุ แตง่ ในแนวทางทเี่ ปน็ กศุ ลในทางทดี่ ี จติ กเ็ ปน็ สขุ ปรงุ แตง่ ไปในทางที่ไม่ดี จิตก็เป็นทุกข์ ถามว่า ปรุงแต่งตรงนี้กลายเป็นอะไร ? ไป ๆ มา ๆ ก็กลายเป็นกรรม เป็นมโนกรรม เราทากรรมแล้วเราก็ยึดติด กับการกระทาหรือกรรมของเราเองอีก กลายเป็นวัฏสงสาร เป็นวัฏจักรที่ เวียนว่ายอยู่ตรงนี้ตลอดเวลา
ตรงนี้พระพุทธเจ้าตรัสว่า สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยง สัญญา อนจิ จา สงั ขาราอนจิ จงั สงั ขารไมเ่ ทยี่ ง สญั ญาไมเ่ ทยี่ ง นแี่ หละพระพทุ ธเจา้ สอนอย่างนี้ แล้วเราจะทาอย่างไร ? เราก็มาพิจารณาตามคาสอนขององค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทาไมพระพุทธองค์จึงทรงตรัสว่าเป็นของไม่ เที่ยง ? การเห็นถึงความไม่เที่ยงแล้วดีอย่างไร ? ไม่เที่ยงแล้วเป็นอะไร ? เป็นอนัตตา บังคับบัญชาเขาไม่ได้ ไม่ใช่ของเรา เขากาลังทาหน้าที่ของตน ของตนอยู่ แล้วหน้าที่ของเราคืออะไร ? มีสติเข้าไปกาหนดรู้ถึงความจริง ข้อนั้น ความจริงข้อนั้นเป็นไฉน ?
ความจริงข้อนั้นคือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาของสัญญา สงั ขาร หรอื ตวั วญิ ญาณเอง อยา่ งเชน่ พอมคี วามคดิ ขนึ้ มา เราจะทา อยา่ งไร ? เราจะต้องไม่ลืม ปัญญาเบื้องต้นที่เราเห็นว่าจิตกับกายเป็นคนละส่วนกัน จติ กบั ลมหายใจเปน็ คนละสว่ นกนั กายกว็ า่ งไปหายไป เหลอื อะไร ? เหลอื แตจ่ ติ ทวี่ า่ ง ๆ เบา ๆ ทา หนา้ ทรี่ ู้ กเ็ หมอื นกนั นนั่ แหละ ลองพจิ ารณาดคู วาม คดิ ลองดวู า่ จติ ทรี่ วู้ า่ คดิ กบั ความคดิ เขาเปน็ สว่ นเดยี วกนั หรอื คนละสว่ น กัน ? จิตที่ทาหน้าที่รู้กับเรื่องที่คิดที่เกิดขึ้น พระพุทธเจ้าบอกว่าเป็นคนละ ส่วนกัน เราลองตั้งสติดี ๆ แล้วพิจารณาตามคาสอนของพระพุทธเจ้าสิ
121


































































































   123   124   125   126   127