Page 126 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 126

122
ตงั้ สตดิ ี ๆ ทา อยา่ งไร ? การตงั้ สตดิ ี ๆ เวลามคี วามคดิ เกดิ ขนึ้ มา - ตั้งสติ นิ่ง ๆ แล้วตั้งใจสังเกตดูว่า ความคิดที่กาลังเกิดขึ้นมากับเรา เป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ? เรื่องที่กาลังคิดเขาอยู่ตรงไหน ? อยู่ข้างใน อยู่ข้างนอก อยู่ที่ไกล ๆ หรือว่าอยู่ที่สมองตลอดเวลา หรือว่า เดี๋ยวเขาวิ่งไปโน่นเดี๋ยวเขาวิ่งไปนี่ ? วิ่งไปนั่นวิ่งไปนี่ ให้หยุดอยู่กับที่ได้ ไหม ? ถา้ หยดุ ไมไ่ ด้ เขาบอกวา่ เปน็ เราหรอื เปลา่ ? เรานงิ่ ดู นคี่ อื การสงั เกต ถึงความเป็นจริง แล้วจะเห็นว่า อ๋อ! ธรรมชาติของความคิดเป็นอย่างนี้ เอง เพราะไม่ใช่ของเรา เมื่อไม่ใช่ของเรา ทาไมต้องทุกข์ ? ทาอย่างไรถึง จะไม่ทุกข์ ?
การพิจารณาถึงความจริงตรงนี้ ให้เราพอใจที่จะรู้ถึงการเกิดดับ ของความคิดที่เกิดขึ้นอย่างหนึ่ง อีกอย่างหนึ่งคือพิจารณาว่า ความคิดที่ กาลังเกิดขึ้น คิดแล้วเกิดประโยชน์อะไร คิดแล้วมีโทษอย่างไร อันนี้ได้ ประโยชน์สองอย่างก็คือว่า มีทั้งคุณและโทษในการดาเนินชีวิตของเรา ถ้า เราพิจารณาอย่างนี้เราก็จะเลือกได้ว่าความคิดที่เกิดขึ้นนี่เป็นคุณกับชีวิต เราอย่างไร ดีต่อการดาเนินชีวิตเราอย่างไร ไม่ดีต่อชีวิตของเราอย่างไร อันนี้อย่างหนึ่ง อีกอย่างหนึ่งการที่สนใจสังเกตอาการพระไตรลักษณ์ การเกิดดับของความคิดเป็นที่ตั้งนั้น “ดีโดยฝ่ายเดียว”
ดีโดยฝ่ายเดียวอย่างไร ? เมื่อไหร่ก็ตามที่มีสติรู้ถึงความจริง ขอ้ นี้ จติ จะคลายจากอปุ าทาน มแี ตค่ วามอสิ ระ นา มาซงึ่ ความสขุ ใจสบายใจ นามาซึ่งความสงบ ทาให้จิตคลายจากอุปาทาน พ้นจากเครื่องพันธนาการ คือโลภะ โทสะ โมหะนั่นเอง พ้นจากเครื่องพันธนาการตรงนี้แต่ความคิด ยังทาหน้าที่ปกติ และถ้าพ้นเครื่องพันธนาการตรงนี้ จริง ๆ แล้วความคิด เขาจะน้อยลงเบาลง เพราะอะไร ? เพราะไม่ยึดว่าเป็นของเรา ไม่มีใครเป็น


































































































   124   125   126   127   128