Page 138 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 138

134
ว่าเป็นของเรา ? ความคิดบอกว่าเป็นเราไหม ? จิตที่ทาหน้าที่รู้บอกว่าเป็น เราไหม ? เสยี งทไี่ ดย้ นิ บอกวา่ เปน็ ใครหรอื เปลา่ ? หรอื จติ ทกี่ า ลงั รบั รเู้ สยี ง อยู่บอกว่าเป็นเราเป็นใครไหม ? นี่คือการพิจารณาถึงความเป็นจริง
ถ้าเราหมั่นพิจารณาแบบนี้ เราจะเห็นถึงธรรมชาติที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวนี้เป็นอย่างไร การพิจารณาแบบนี้บ่อย ๆ คืออะไร ? คือธัมมวิจยะ การใส่ใจ หรือการพิจารณาการสังเกตถึงสัจธรรมความเป็นจริงว่าทาไม พระพุทธองค์จึงทรงตรัสว่า อารมณ์ต่าง ๆ รูปนามขันธ์ห้า หรือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ ที่เกิดขึ้น จึงตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความไม่มีเรา ไม่เป็น ของเรา ไม่อยู่ในอานาจของเรา อันนี้เป็นสิ่งสาคัญ ถ้าเราเห็นความจริงว่า อาการต่าง ๆ เป็นไปตามเหตุตามปัจจัย ไม่ได้อยู่ในอานาจของเราทั้งหมด เสมอไป การยึดติดในอารมณ์อันนั้นก็จะลดลงน้อยลง อุปาทานการที่จะ เข้าไปยึดว่าเป็นของเราก็จะลดไปหายไปโดยปริยายเช่นเดียวกัน
ทีนี้ นอกจากเห็นว่าจิตกับอารมณ์ต่าง ๆ เป็นคนละส่วน แล้วอีก สองอย่างที่พระพุทธเจ้าตรัสคืออะไร—นอกจากความเป็นอนัตตา ? ก็คือ ความเป็นอนิจจัง ความไม่เที่ยง, ความเป็นทุกข์ คือทุกขลักษณะ ไม่ใช่ ทุกขเวทนาอย่างเดียว ทุกขเวทนาที่เกิดขึ้น—ทุกขเวทนาทางกาย : ความ เจ็บปวด เมื่อย ชา, ทุกขเวทนาทางจิต : มีความอึดอัดขัดเคืองหงุดหงิด ราคาญใจ เป็นทุกข์เป็นความไม่สบายใจเกิดขึ้นมา อาศัยอะไร ? อาศัย ความไมร่ ู้ การไมเ่ ขา้ ใจความจรงิ นนั่ เอง แตก่ ารทเี่ ราไดเ้ หน็ ความจรงิ ความ จรงิ อยา่ งหนงึ่ คอื ความเปน็ คนละสว่ นระหวา่ งรปู กบั นาม กบั อารมณต์ า่ ง ๆ เวทนาทางจิตไม่เกิด นั่นคือความทุกข์ไม่เกิดขึ้น


































































































   136   137   138   139   140