Page 20 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 20

16
ถึงธรรมชาติของอารมณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อีก อย่างหนึ่งว่า ก็เป็นไปตามธรรมชาติ
เป็นไปตามธรรมชาติอย่างไร ? เพราะเมื่อไหร่ก็ตามที่เราเกิดขึ้น มาแล้ว มีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มีอายตนะทั้งหก อารมณ์ทั้งหกย่อม ปรากฏขึ้น เป็นเรื่องปกติเป็นเรื่องธรรมดาของชีวิต ซึ่งเป็นเหตุปัจจัย ซึ่งกันและกันอยู่แล้ว เพียงแต่ว่าอารมณ์ที่เป็นปกติตรงนี้รับรู้ด้วยจิต ประเภทไหน การที่รับรู้ด้วยความไม่มีตัวตนจะเห็นชัดถึงความเป็นจริง ข้อหนึ่งว่า เมื่อมีตาก็เห็นรูป เมื่อมีหูได้ยินเสียง เมื่อได้ยินก็ต้องมีการรับรู้ มีลิ้นก็สัมผัสรู้รส มีกายมีการกระทบเย็น-ร้อน-อ่อน-แข็ง-เคร่งตึง- หนัก-เบา เป็นเรื่องปกติธรรมดา!
เป็นเรื่องปกติธรรมดา ไม่เกี่ยวกับกิเลสเลย แต่เป็นปัจจัยให้เกิด กเิ ลสได้ เมอื่ เราหลงเขา้ ไปยดึ วา่ เปน็ ของเรา ตรงทหี่ ลงเขา้ ไปยดึ วา่ เปน็ ของ เรา เราเหน็ ตามความเปน็ จรงิ หรอื เปน็ การเหน็ ทผี่ ดิ เพยี้ นไป ทเี่ รยี กวา่ เปน็ วิปลาส เห็นผิดจากความเป็นจริง เห็นต่างจากความเป็นจริง ไม่ใช่จิต วิปลาสนะ เป็นความเห็นที่ผิดไป มองผิดไป ไม่ตรงตามความเป็นจริง อันนี้คืออย่างหนึ่ง เพราะฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงถามภิกษุว่า ควรหรือที่ จะไปยึดว่าเป็นเรา ? การเห็นความจริงข้อนี้ ความทุกข์ไม่เกิดขึ้น
ทีนี้ เราลองพิจารณาดูว่า ทาไมเราถึงเห็นถึงความเป็นคนละส่วน ได้ ? การสังเกต การใส่ใจตรงนี้ ก็คือวิธีอย่างหนึ่งที่เรียกว่า “มรรค” คือ ทางที่จะดับทุกข์ วิธีการ - มีสติเข้าไปกาหนดรู้เพื่อให้เห็นความจริงจริง ๆ ทพี่ ระพทุ ธเจา้ ตรสั เอาไวเ้ ปน็ แบบนนั้ จรงิ ๆ ไมส่ ามารถเปน็ อยา่ งอนื่ ไดเ้ ลย นี่คือสภาวธรรมอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้น แล้วก็เห็นว่าความทุกข์ทางใจไม่เกิด ขนึ้ ความทกุ ขท์ เี่ กดิ จากกเิ ลสไมป่ รากฏ เหลอื แตท่ กุ ขเวทนาทเี่ กดิ ธรรมดา


































































































   18   19   20   21   22