Page 22 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 22

18
เริ่มจากการที่เราพิจารณาอาการของกาย สภาวธรรมที่อาศัย ร่างกายเราเกิดขึ้นมา ในการปฏิบัติธรรมเพื่อเข้าถึงธรรมและการคลาย จากอุปาทานเพื่อออกจากทุกข์อย่างสิ้นเชิง เราอาศัยลักษณะของทุกข- ลักษณะ สังเกตไหมว่า วิปัสสนาจึงถามว่าอาการของรูปที่เกิดขึ้นมา เขาเกิดดับในลักษณะอย่างไร ? อาการเกิดดับเปลี่ยนแปลงอย่างไร ? ทุกขลักษณะอย่างนี้ไม่ใช่เฉพาะอาการของรูป แม้ตัวจิตเองที่ทาหน้าที่รู้ ก็ยังต้องแสดงถึงการเกิดแล้วดับไป พระพุทธเจ้าตรัสว่าจิตดวงหนึ่ง เกิดขึ้นมา ทาหน้าที่รับรู้อารมณ์หนึ่ง แล้วก็ดับไป ไม่สามารถตั้งอยู่อย่าง นั้นได้ตลอดเวลา
ทีนี้ เราลองมาพิจารณาดู ขณะที่ฟังธรรมอยู่นี่แหละ ขณะที่เราฟัง ด้วยจิตที่ว่าง ไม่มีตัวตน มีแต่บรรยากาศของความว่าง ความสงบ ความ ผ่องใสรองรับ ถามว่า ลักษณะของความทุกข์ของอารมณ์ไหนบ้างที่เรา สามารถพจิ ารณาได้ ? อาจจะเปน็ เสยี งทอี่ าจารยพ์ ดู ในแตล่ ะคา แตล่ ะคา ... แต่ละคาพูดที่ปรากฏขึ้นมาก็ดับไปเป็นคา ๆ ถ้าคาพูดนั้นไม่ดับ คาต่อไป เกิดไม่ได้ คงอ้าปากค้างนิ่ง ๆ อยู่ เสียงก็ค้างอยู่อย่างนั้น ไม่มีการหายไป แต่ความเป็นจริงคือ ลักษณะที่เขาเรียกว่าทุกขลักษณะ เกิดขึ้นแล้วดับไป ตรงนี้แหละอาการพระไตรลักษณ์ ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญ
อาการเกิดดับตรงนี้เป็นตัวบอกเราว่า ไม่มีอะไรที่เป็นของเที่ยง ไม่มีอะไรเลยที่ตั้งอยู่ในสภาพเดิมได้ และบุคคลใดใครก็ตาม ที่สามารถ เข้าไปกาหนดรู้ เห็นอาการเกิดแล้วดับไปของรูปนามตลอดเวลา หรือทุก ๆ ขณะที่ตามรู้ จิตจะพัฒนาไปไกลมาก หรือจิตจะผ่องใสสะอาดหมดจดขึ้น มา การเห็นทุกขลักษณะตรงนี้ ทาให้จิตเราผ่องใสขึ้น จริง ๆ แล้วก่อนที่ จิตจะผ่องใสขึ้น จะทาให้เราเกิดปัญญาข้อหนึ่ง คือจะเห็นว่าไม่มีอะไรยึด


































































































   20   21   22   23   24