Page 201 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 201
อยากให้มันเป็นรูปร่าง แล้วก็รู้สึกไม่พอใจกับสภาวะที่เกิดขึ้น อันนี้คือ ความไม่เข้าใจ ไม่ได้พิจารณาโดยแยบคายว่าหลังจากนั้นสภาวะเป็น แบบนี้... ตัวนี้จะแก้อย่างไร ? การที่จะแก้ความไม่เข้าใจตรงนี้ก็คือ ความ ต่อเนื่องของอารมณ์ที่เรากาหนด
อย่างเช่น เริ่มปฏิบัติตั้งแต่กาหนดพองยุบ กาหนดลมหายใจเป็น เส้นเป็นกลุ่มเป็นก้อน มีเวทนาเป็นกลุ่มเป็นก้อน จากนั้นพอเวทนาหรือ อารมณ์นี้จางลง จางลง... ที่เรารู้สึกว่าพอกาลังจะปวดปึ๊บ มันส่งสัญญาณ บางอย่างวึบขึ้นมา ยังไม่ปวดแต่วึบขึ้นมา รู้สึกเลยว่าเป็นความปวดทั้ง ๆ ทยี่ งั ไมป่ วด... แลว้ ทา ไมถงึ รสู้ กึ วา่ เปน็ ความปวด ? อนั นมี้ นั เปน็ จติ ของเรา ที่สรุปอารมณ์ได้ ต่อจากนั้นเขาค่อยชัดขึ้น ชัดขึ้น... เป็นความปวด นี่คือ ขณะแรกรู้อารมณ์ที่เป็นปรมัตถ์ยังไม่เป็นบัญญัติ เพราะฉะนั้น ถ้ารู้แล้ว ดับเลย รู้แล้วดับ รู้แล้วดับ... อกุศลก็ไม่เกิด
เพราะฉะนั้น พอปฏิบัติไปสักพัก เริ่มจากพอมองอะไรจะพร่าไป หมด มองอะไรก็เหมือนกับมีอาการพร่า ๆ มากั้น จากนั้นอาการพร่าหาย มองคนไม่ชัด แล้วก็เลือน ๆ แต่อาการพร่านี่ต้องพร่าที่ประกอบด้วย สติสัมปชัญญะ สติสัมปชัญญะชัดเจน รู้ชัดเลย พยายามใส่ใจแล้วแต่ อาการก็พร่า บางทียิ่งดูยิ่งเลือนยิ่งพร่ายิ่งจางไป นั่นคือสภาวธรรมอย่าง หนึ่ง แต่โยคีพอไม่เข้าใจก็จะเกิดความรู้สึกว่าทาไมมันไม่ชัดเหมือนเดิม เริ่มหงุดหงิดตัวเองแล้วก็เริ่มโทษตัวเองไปต่าง ๆ นานาว่า ฉันแย่แล้ว! ก็ สมควร... เพราะอะไร ? เพราะความรู้สึกเขารู้สึกแย่จริง ๆ นี่เป็นตัวบอก ว่าเราเคยเห็นอะไรที่ชัดเจน เราเคยทาอะไรแล้วได้ดั่งใจ พอเจอสภาวะ ไม่เป็นดั่งใจแบบนี้... เขาบอกอะไร ?
นแี่ หละคอื สภาวะความเปน็ อนตั ตาจรงิ ๆ พยายามแลว้ ใสใ่ จแลว้
197