Page 199 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 199
ทาให้จิตนั้นเป็นจิตที่บริสุทธิ์ขึ้น ทาให้จิตนั้นเป็นจิตที่สะอาดขึ้น ทาให้จิต นนั้ มคี วามผอ่ งใสขนึ้ ทา ใหจ้ ติ นนั้ มคี วามอสิ ระขนึ้ เราจะรสู้ กึ ไดท้ นั ทแี บบนี้ นคี่ อื การดจู ติ ในจติ การพจิ ารณาสภาวธรรมแบบนนี้ แี่ หละจะทา ใหพ้ ฒั นา ขึ้น
อาจารย์จึงบอกว่า เวลาปฏิบัติธรรมมีอยู่สองอย่าง คือ อาการ เกิดดับเป็นไปอย่างไร สภาพจิตเป็นอย่างไร อาการเกิดดับนี้ไม่ว่าจะเป็น อาการเกดิ ดบั ของเสยี ง อาการเกดิ ดบั ของความคดิ อาการเกดิ ดบั ของการ เห็น อาการเกิดดับของเวทนา อาการเกิดดับของการเดิน อาการเกิดดับ ของลมหายใจ อาการเกดิ ดบั ของอาการคนั แมแ้ ตอ่ าการเกดิ ดบั ของตวั จติ ที่ไปรู้ว่าเป็นอาการเกิดดับของรูปนาม พอเห็นอาการเกิดดับตรงนี้ อาการ เกิดดับสิ้นสุดลง สภาพจิตเป็นอย่างไร ตอนนี้สภาพจิตเป็นแบบนี้อาการ เกิดดับเปลี่ยนไปอย่างไร เพราะฉะนั้น ที่พูดแบบนี้เพื่อให้กระชับว่าสิ่งที่ เราควรใส่ใจ...
ไมว่ า่ จะเปน็ เสยี งอะไรเกดิ ขนึ้ มา ดวู า่ เขาเกดิ ดบั อยา่ งไร ไมว่ า่ ความ คิดนั้นจะเป็นเรื่องอะไรก็ตาม ดูว่าเกิดดับอย่างไร ไม่ว่าจะเป็นความรู้สึก หรือจิตเรา จะสุข จะอึดอัด จะหนัก จะแน่นขึ้นมา ก็เข้าไปดูว่าเขาเกิดดับ อยา่ งไร เปน็ การรอู้ าการพระไตรลกั ษณ์ พอเราสนใจตรงนปี้ บ๊ึ จติ จะไมป่ รงุ แต่งอารมณ์นั้น คือมุ่งไปสู่อาการพระไตรลักษณ์ที่เป็นปรมัตถ์ พอสนใจ ปรมัตถ์แบบนี้เยอะ ๆ กลายเป็นว่าเวทนาที่เกิดขึ้น/อารมณ์ที่เกิดขึ้นเป็น เรื่องเล็ก และเป็นเรื่องเล็กสาหรับจิตเรา เราไม่ได้เอามาเป็นอารมณ์หลัก สาคัญยิ่งใหญ่ที่ทาให้มาปิดกั้นการเดินทางของเรา
แน่นอนว่าอารมณ์เหล่านั้นต้องปรากฏเกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ ธรรมดา ทั้งที่เป็นสิ่งที่ดี/ไม่ดีที่เกิดขึ้นมาทาให้การปฏิบัติของเราสะดุด
195