Page 197 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 197

หนงึ่ ถา้ พจิ ารณาดวู า่ อารมณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ถา้ รบั รดู้ ว้ ยความรสู้ กึ ทมี่ นั่ คงผอ่ งใส อารมณ์ที่เกิดขึ้นมาปรุงแต่งจิตได้ไหม ? เขาเกิดอยู่ข้างนอก ไม่(สามารถ) ปรุงแต่งจิตได้
เมื่อกี้ได้ยินเสียงสวด “นี่แน่! นายช่างปลูกเรือน เจ้าจะสร้างเรือน ให้เราไม่ได้อีกต่อไป” นั่นคือจิตที่มีกาลัง พออารมณ์เกิดขึ้นมา แทนที่จะ ปรุงความชอบ/ไม่ชอบขึ้นมาเหมือนนายช่าง พอขึ้นมา...จะปรุง เอ้า! รู้ทัน ปุ๊บเขาก็ดับ ไม่ปรุงต่อ! ตัวนายช่าง/ตัวกิเลสตัวนี้ก็จะปรุงแต่ง มีผัสสะขึ้น มากป็ รงุ ตอ่ อยา่ งนนั้ อยา่ งนไี้ ปเรอื่ ย ๆ สรา้ งเรอื่ งขนึ้ มา แตพ่ อสตมิ กี า ลงั ปบ๊ึ รู้ทัน แล้วก็จบ! คาอุทานของพระพุทธเจ้า “นี่แน่! นายช่างปลูกเรือน เรา รู้จักเจ้าเสียแล้ว...” นี่โครงเรือนเรารื้อหรือยัง ? เรายังไม่รื้อ รู้เฉย ๆ เขาก็ เดินมาด้อม ๆ มอง ๆ พอเขาเสนอเรื่องดี ๆ เอาเลย สร้างได้เลย!
แต่ถ้าโครงเรือนรื้อเสียแล้ว ก็คือตัวความยินดีพอใจในอารมณ์ เหน็ แลว้ จติ มคี วามสงบ เราพอใจจติ ทผี่ อ่ งใส เพราะจติ ทผี่ อ่ งใส/จติ ทตี่ งั้ มนั่ นั่นเขาสมบูรณ์ในตัว ไม่ต้องอาศัยอารมณ์อย่างอื่นเข้ามาปรุงแต่ง สังเกต ไหมวา่ พอจติ เราไมม่ ตี วั ตน ไมม่ คี วามเปน็ เรา มคี วามสขุ มคี วามผอ่ งใสปบ๊ึ ทา ไมจติ เราอมิ่ สมบรู ณ์ ไมเ่ ลอื กอารมณภ์ ายนอกเขา้ มาเพอื่ ทจี่ ะปรงุ ใหจ้ ติ เกิดความอิ่มความเต็มเกิดความพอใจ ? เพราะตัวเขาเองมีความสมบูรณ์ ในตัว ตรงนี้แหละสภาวธรรม การที่เราดูจิตในจิต ดูจิตบ่อย ๆ เห็นผัสสะ เกิดขึ้น กลับมาดูสภาพจิต จิตผ่องใส พอจิตสงบมีความผ่องใส ถามว่า ความอยาก ความเกลียด ความชอบ ความกลัว เกิดขึ้นไหม ? อันนี้คือ สิ่งที่เราสังเกต
แต่ทีนี้พออารมณ์เหล่านั้นไม่ปรุงแต่งจิต แล้วควรจะรู้คุณค่าของ จิตที่ผ่องใสที่สงบที่มั่นคง การที่ไปดูจิตที่สงบที่ผ่องใสที่มั่นคง ลองดูนะ
193


































































































   195   196   197   198   199