Page 234 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 234
230
แตน่ นั่ คอื ผลทเี่ กดิ ขนึ้ วา่ รสู้ กึ แบบนี้ รสู้ กึ โลง่ รสู้ กึ โปรง่ รสู้ กึ เบา รสู้ กึ สงบ...
ทีนี้ การที่เราเห็นถึงความเปลี่ยนแปลง เห็นอาการเกิดดับของรูป นามแบบนี้ การพิจารณาสภาวธรรม/การที่กาหนดรู้ถึงการเกิดดับของรูป นามเปน็ อะไร ? รปู นามทพี่ ดู ถงึ สภาวธรรมทปี่ รากฏนนั้ คอื ธรรมชาตขิ อง กายของจิต เป็นธรรมชาติของชีวิตเรา เป็นอาการของรูปนามขันธ์ห้า เป็น ขนั ธข์ นั ธห์ นงึ่ ทปี่ รากฏขนึ้ มา มกี ารเปลยี่ นแปลงเกดิ ดบั ตลอดเวลา ทนี ี้ ถา้ เราพจิ ารณาตอ่ อกี วา่ ในเมอื่ อยใู่ นกฎไตรลกั ษณแ์ บบนี้ มกี ารเปลยี่ นแปลง การเกิดดับแบบนี้ ส่งผลต่อสภาพจิต ทาให้จิตเกิดความตั้งมั่น เกิดความ ผ่องใส เกิดความตื่นตัว เกิดความสว่างขึ้นมา นั่นคือประโยชน์ที่เกิดขึ้น แล้ว แล้วอาการตรงนี้บอกอะไรกับเราอีก ?
ลองพิจารณาดูว่า ขณะที่กาลังกาหนดรู้อาการเกิดดับอยู่นี้ มี ความรู้สึกว่าเป็นเราไหม มีตัวตนไหม ? ถ้าเราพิจารณาดี ๆ อาการเกิด ดับนี้อาศัยอะไร ? อาศัยลมหายใจ อาศัยอาการเต้นของหัวใจ ก็คืออาศัย อาการของรูปของร่างกายอันนี้ที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับตลอดเวลา ยิ่ง เปน็ สภาวะปรมตั ถ.์ ..เกดิ ดบั อยตู่ ลอดเวลา อยา่ งทบี่ อกวา่ แมแ้ ตร่ ปู ละเอยี ด ของเรา-ระดับเซลล์ ก็มีการเปลี่ยนแปลงเกิดดับตลอดเวลา ตรงนี้แหละ ที่เราสามารถเห็นได้ด้วยปัญญา ไม่ได้บอกว่าเป็นเซลล์ไหนอะไร แต่เป็น ลักษณะสภาวธรรมที่ปรากฏเกิดขึ้นมาด้วยการอาศัยกาลังของสติ สมาธิ และปัญญา คือการใส่ใจ
ปัญญาอย่างหนึ่ง การทาความเข้าใจถึงกฎไตรลักษณ์ กฎ ไตรลักษณ์อันนี้เป็นธรรมะเป็นคาสอนของพระพุทธเจ้า ที่พระองค์ทรง ค้นพบว่ารูปนามขันธ์ห้าทั้งหลายทั้งปวงที่เกิดขึ้นมานั้นล้วนตั้งอยู่ในกฎ ของไตรลักษณ์ สังขารทั้งหลายทั้งปวงไม่เที่ยง สังขารทั้งหลายทั้งปวงเป็น