Page 250 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 250
246
ก็ไปด้วยตลอดเวลา การพิจารณาเห็นอาการเกิดดับของกายของจิตที่มี การเปลี่ยนแปลงอยู่ จะทาให้สติสมาธิเรามีกาลังมากขึ้น เพราะฉะนั้น ขณะนี้ที่เรานั่งอยู่ ลองพิจารณากาหนดรู้อาการที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นทาง กาย บางคนจะรู้สึกถึงอาการของลมหายใจที่กาลังเกิดขึ้น ก็มีสติตาม กาหนดรู้ดูลมหายใจเข้า-หายใจออกเพื่อทาให้จิตสงบ ทาให้จิตเป็นกุศล เป็นการปฏิบัติบูชา ปฏิบัติธรรมเพื่อเป็นการบูชาองค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า นั่นจะมีอานิสงส์อย่างมากเป็นบุญอย่างมากสาหรับผู้ปฏิบัติ
การปฏบิ ตั เิ รมิ่ ตน้ จากสงิ่ ทอี่ ยใู่ กลต้ วั ทสี่ ดุ ถา้ รสู้ กึ ถงึ อาการพองยบุ อาการกระเพื่อมไหว อาการเต้นของหัวใจ อย่างใดอย่างหนึ่งที่ชัดขึ้นมา ก็ ให้มีสติตามกาหนดรู้ไป ลองสังเกตดูว่า ถ้าเราไม่ไปข้องแวะกับอารมณ์ ภายนอก มีสติมีสมาธิจดจ่ออยู่กับอารมณ์ปัจจุบัน รู้ถึงการเกิดขึ้น- ตั้งอยู่-ดับไป สภาพจิตใจจะเป็นอย่างไร ? สภาวธรรมที่เกิดขึ้น อาการ ของลมหายใจ อาการเต้นของหัวใจ อาการทางกายที่กาลังประกาศ ตนเองที่มีการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปนั่นแหละ เราจะได้ศึกษาธรรมะศึกษา สัจธรรมที่เกิดขึ้น จะได้เห็นว่ารูปไม่เที่ยงเป็นอย่างไร เวทนาไม่เที่ยงเป็น อย่างไร สัญญาไม่เที่ยงเป็นอย่างไร สังขารไม่เที่ยงเป็นอย่างไร วิญญาณ ไม่เที่ยงเป็นอย่างไร
จรงิ ๆ แลว้ ใชค้ า วา่ เรารอู้ าการของลมหายใจทเี่ ปลยี่ นไปเกดิ ดบั ไป ถ้าสังเกตดี ๆ จะเห็นว่าตรงที่ใช้คาว่า “เรา”เป็นผู้ตามรู้ ตามดู ตามเห็น ตามสังเกตอาการของลมหายใจ ฯลฯ ใช้คาว่า “เรา” อันนั้นคืออะไร ? คือ จติ ทปี่ ระกอบดว้ ยสติ ทกี่ า ลงั ทา หนา้ ทรี่ บั รสู้ ภาวธรรมทกี่ า ลงั ปรากฏเกดิ ขนึ้ อยเู่ ฉพาะหนา้ ทมี่ กี ารเกดิ ดบั เปลยี่ นไปอยู่ สภาวธรรมอนั หนงึ่ กค็ อื อาการ ทางกายที่มีการเกิดดับเปลี่ยนแปลงไปไม่เหมือนเดิมอยู่ทุก ๆ ขณะ นั่น