Page 264 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 264

260
ทาไมถึงเรียกว่าเป็นการเห็นที่ถูกต้อง ? เพราะเห็นเมื่อไหร่ความ ทุกข์ก็ดับไป เห็นเมื่อไหร่ความทุกข์ก็ไม่เกิดขึ้นมา เห็นถึงความเป็นจริง ถึงแม้อารมณ์ต่าง ๆ ที่ปรากฏขึ้นมาทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เกิดขึ้น ตามปกติในชีวิตก็ตาม แต่เมื่อเห็นถึงความเป็นคนละส่วนระหว่างจิตที่ทา หน้าที่รู้กับอารมณ์ที่เกิดขึ้น เห็นถึงความไม่เที่ยง เกิดขึ้นแล้วเปลี่ยนไป ๆ แล้วก็เห็นถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป ไม่ใช่ของเรา เป็นอนัตตา เป็น สภาวธรรม/ธรรมชาติที่กาลังปรากฏเกิดขึ้นและเป็นไปอยู่ เมื่อเห็นอย่าง นั้น ความทุกข์ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ เห็นแต่เป็นเพียงสภาวธรรม หรือได้ เห็นถึงสัจธรรมจริง ๆ
ตรงนี้แหละที่บอกว่าเป็นความเห็นชอบ เห็นแล้วเป็นไปเพื่อความ ดับทุกข์ ก็คือเห็นสัจธรรมความเป็นจริงของรูปนามขันธ์ห้านั่นเอง เป็น ธรรมชาติเป็นปกติ สรรพสัตว์ทุกตัวตนทุกคนเมื่อเกิดขึ้นมาในโลกนี้ ก็มี รูปนามขันธ์ห้า มีรูป มีเวทนา มีสัญญา มีสังขาร มีวิญญาณ เหมือนกัน หมด เหลือแต่สิ่งที่เป็นองค์ประกอบที่เข้ามาที่แตกต่างกัน ก็คือกิเลส อวิชชา หรือวิชชา/ปัญญานั้นมีความแตกต่างกัน ที่จะเป็นเหตุปัจจัยให้ บุคคลมีความทุกข์หรือความสุขแตกต่างกัน นี่แหละเป็นสิ่งสาคัญ
การแสดงธรรมของพระพุทธองค์ ที่บอกว่ามรรคมีองค์แปดอัน เปน็ ไปเพอื่ ความดบั ทกุ ขน์ นั้ เปน็ แบบไหน กลายเปน็ วา่ พอพจิ ารณาอยา่ งนี้ เราก็มีทั้งสัมมาสติ สัมมาสมาธิ และประกอบด้วยปัญญา พิจารณาถึง สัจธรรมที่เกิดขึ้น และเมื่อเห็นถึงความเป็นอนัตตา เห็นความว่าง ความ ทุกข์ก็ดับไป นิโรธคือความดับ ไม่ว่าจะดับอย่างสิ้นเชิงหรือดับชั่วขณะ หนึ่ง ๆ ก็ตาม แต่เมื่อไหร่ที่เห็นความทุกข์ดับไปหรือเมื่อไหร่ที่สามารถดับ ทุกข์ได้ นั่นก็คือลักษณะของนิโรธ เพราะฉะนั้น เมื่อพิจารณาอย่างนี้แล้ว


































































































   262   263   264   265   266