Page 306 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 306

302
ยึดติดไม่ยอมปล่อยวาง ทาให้จิตใจของตนไม่อิสระ จิตถูกครอบงาด้วย โลภะ โทสะ โมหะ มีความยินดีพอใจในอารมณ์นั้น ๆ เกิดขึ้น... เรายินดี พอใจอะไร เราเข้าไปยึดอะไร ? ก็เข้าไปยึดรูปนามขันธ์ ๕ นี้แหละ เพราะ อะไร ? เพราะไม่เห็นว่ารูปนามขันธ์ ๕ หรือกายใจนี้เป็นอาการของสภาว ธรรมที่กาลังเป็นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่นั่นเอง
เพราะฉะนั้น พอพูดถึงการละการคลายอุปาทาน ละอวิชชา ลด ความหลง การชา ระจติ ของตนใหผ้ อ่ งใสขนึ้ ไปไดน้ นั้ พระพทุ ธองคจ์ งึ ตรสั ถงึ กฎไตรลกั ษณ์ คอื ความเปน็ อนจิ จลกั ขณะ ทกุ ขลกั ษณะ อนตั ตลกั ขณะ หรือความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา... ความเป็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นี้ขอบเขตกว้างไกลแค่ไหน ? คาว่า “กฎไตรลักษณ์” นั้นไม่ได้จากัดอยู่ เฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สิ่งที่พระพุทธองค์ทรงตรัสคือ สัจธรรมที่ปรากฏเกิดขึ้นทั้งบนโลกใบนี้และโลกอื่น ๆ ทั้งโลกมนุษย์และ เทวดาทั้งหลายก็อยู่ในภพภูมิที่ตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ คือการ เปลี่ยนแปลง เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป การเวียนว่ายตายเกิด เป็นไปตามเหตุ ปัจจัยของตนของตน
เพราะฉะนั้น ธรรมะที่พระองค์ทรงตรัสนั้นจึงเป็นธรรมะที่ลึกซึ้ง และไมไ่ ดจ้ า กดั อยเู่ ฉพาะคนใดคนหนงึ่ หรอื เฉพาะเรอื่ งใดเรอื่ งหนงึ่ ถา้ เรา พิจารณาดูเราก็จะเห็นว่าธรรมชาติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นรอบตัวของเราก็จะมี การเปลี่ยนแปลง สถานการณ์ต่าง ๆ ก็เปลี่ยนแปลงเปลี่ยนไปเป็นปกติ ที่ เรียกว่ากระแสของโลก โลกหมุนไป กาลเวลาเปลี่ยนไป สรรพสิ่งทุกอย่าง เปลี่ยนแปลงไปอยู่เสมอ นั่นคือกฎไตรลักษณ์ คือความเป็นอนิจจัง แล้ว ไม่ใช่แค่เปลี่ยนแปลงอย่างเดียว แต่มีการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป สิ่งนี้ดับ ไป-สิ่งใหม่ปรากฏขึ้นมา เปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ จะบังคับให้สิ่งใดสิ่งหนึ่ง


































































































   304   305   306   307   308