Page 310 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 310
306
เมอื่ มสี ตกิ า หนดรดู้ อู าการของลมหายใจหรอื อาการของพองยบุ ไป กาหนดไป กาหนดไป... สติ สมาธิ ปัญญาแก่กล้าขึ้น ลมหายใจหายไป อาการพองยบุ หายไป เหลอื แตจ่ ติ ทที่ า หนา้ ทรี่ ู้ รคู้ วามวา่ ง รคู้ วามไมม่ อี ะไร ตรงนี้ยิ่งชัดว่ากายกับจิตเป็นคนละส่วนกันนั้นเป็นอย่างไร หรือบางขณะ บางคนถึงขนาดว่าพอกาหนดรู้ไปแล้วเห็นเหมือนจิตหลุดออกจากกาย ไปอยู่ข้างนอก พอหันกลับมามองดูกายที่นั่งอยู่ รู้สึกว่ากายนี้ก็ไม่ใช่เรา เรากับกายไม่ได้เป็นส่วนเดียวกัน เป็นคนละส่วนกัน... แบบนี้ก็มี นี่คือ สภาวธรรมที่เกิดขึ้น ทาไมถึงรู้สึกว่าจิตหลุดออกไปจากกายได้ ?
เพราะธรรมชาติของรูปกับนามนั้น ดังที่พระพุทธองค์ทรงตรัสเอา ไว้ว่า รูปกับนามหรือกายกับใจเป็นคนละส่วนเป็นคนละขันธ์ รูปที่นั่งอยู่ก็ เป็นรูปขันธ์ จิตที่รับรู้อารมณ์อยู่ก็เป็นวิญญาณขันธ์ คือวิญญาณรู้ จิตรู้ ใจรู้ ธาตรุ .ู้ .. วญิ ญาณขนั ธก์ จ็ ดั เปน็ ขนั ธข์ นั ธห์ นงึ่ ในขนั ธท์ งั้ ๕ เพราะฉะนนั้ เมื่อปฏิบัติจริง ๆ ก็จะเห็นว่ารูปนามขันธ์ ๕ เป็นคนละส่วนกัน และถ้าเรา พจิ ารณาตามคา สอนของพระพทุ ธองคต์ อ่ ไปวา่ พอเหน็ รปู นามขนั ธ์ ๕ เปน็ คนละส่วนกันแล้ว รูปนี้บอกว่าเป็นของเราไหม นามหรือจิตที่ทาหน้าที่รู้ บอกว่าเป็นเราเป็นใครหรือเปล่า... พิจารณาเพื่ออะไร ? เพื่อสารวจตรวจ สอบว่าทาไมพระพุทธองค์จึงบอกว่ารูปนามขันธ์ ๕ อันนี้เป็นอนัตตา ว่าง เปล่าจากความหมายแห่งความเป็นตัวตน อันนี้อย่างหนึ่ง
อีกจุดหนึ่งก็คือกฎของไตรลักษณ์ ตั้งแต่เริ่มพิจารณากาหนดรู้ อาการของลมหายใจเข้า-ออกหรืออาการพองยุบนั้นแหละ ความไม่เที่ยง ของอาการทางกายทเี่ กดิ ขนึ้ คอื กฎไตรลกั ษณท์ ปี่ ระกาศตนเอง อยา่ งทพี่ ดู เสมอว่า เมื่อมีสติกาหนดรู้ดูอาการเปลี่ยนแปลงของลมหายใจเข้า-ออก ยิ่งกาหนดรู้ไป รู้ไป ลมหายใจเปลี่ยนไป บางไป จางไป แล้วลมหายใจก็