Page 309 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 309
หายใจหรืออาการพองยุบซึ่งเป็นอาการทางกายตรงนี้ ? เพราะอาการของ ลมหายใจเข้า-ออกหรืออาการพองยุบเป็นอารมณ์ปกติที่เกิดขึ้นตลอด เวลา...ตราบใดที่ลมหายใจยังทาหน้าที่ของตนของตนอยู่
เวลาเรานั่งกรรมฐาน รูปต่าง ๆ ก็จะมีลักษณะอยู่ในอากัปกิริยาที่ นงิ่ ไมม่ กี ารเคลอื่ นไหว แตอ่ าการของลมหายใจหรอื อาการพองยบุ นนั้ ยงั มี การเคลอื่ นไหวเปลยี่ นแปลงไปอยู่ นนั่ จงึ ทา ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั หิ รอื ผสู้ นใจในธรรม นั้นจะสังเกตเห็นได้ง่ายขึ้นว่าจิตที่ทาหน้าที่รู้กับอาการของลมหายใจเข้า- ออกหรืออาการพองยุบนั้นเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วนกัน ทาไมถึง ทาให้กาหนดรู้ได้ง่ายขึ้น ? เพราะขณะที่ตามรู้ลมหายใจเข้า-ออกหรือตาม รู้อาการพองยุบอยู่นั้น เมื่อสติ-สมาธิ-ปัญญากาหนดรู้อยู่กับอารมณ์ ป จั จ บุ นั ส ต -ิ ส ม า ธ -ิ ป ญั ญ า แ ก ก่ ล า้ ข นึ ้ เ ร อื ่ ย ๆ จ ติ เ ร มิ ่ ไ ม ซ่ ดั ส า่ ย จ ติ เ ร มิ ่ ส ง บ มากขึ้น ก็จะเร่ิมเห็นว่าจิตที่ตามรู้กับลมหายใจเข้า-ออกเขาอยู่ที่เดียวกัน หรือคนละที่ จิตที่ตามรู้กับอาการพองยุบอยู่ที่เดียวกันหรือคนละที่ อันนี้ สาคัญ
ถึงแม้จะเรียกว่าเราเป็นผู้ตามรู้ลมหายใจอยู่ เราเป็นผู้ตามรู้พอง ยุบอยู่ ก็ยังสังเกตได้ง่ายว่าเรากับอาการของลมหายใจเป็นส่วนเดียวกัน หรือคนละส่วนกัน เรากับอาการพองยุบเป็นส่วนเดียวกันหรือคนละส่วน กนั ตรงนแี้ หละจะเหน็ วา่ อาการของลมหายใจซงึ่ เปน็ อาการของรปู หรอื ของ กายก็ส่วนหนึ่ง ส่วนตัวจิตที่ทาหน้าที่รู้เป็นนาม นี่แหละจะทาให้ผู้ปฏิบัติ ได้เห็นถึงความเป็นคนละส่วนของรูปกับนามหรือกายกับใจอย่างชัดเจน และถ้าบุคคลนั้นหมั่นใส่ใจที่จะศึกษาพิจารณาธรรมะคาสอนของ พระพุทธเจ้าให้เข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น มีความเพียรพิจารณากาหนดรู้ดูต่อไป เรอื่ ย ๆ กย็ งิ่ จะชดั ขนึ้ ไปอกี วา่ จติ กบั กายทเี่ ปน็ คนละสว่ นกนั นนั้ เปน็ อยา่ งไร
305