Page 97 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 97

เป็นคนละส่วนกันระหว่างจิตกับอารมณ์ต่าง ๆ ที่กาลังปรากฏขึ้นมา ที่ เรามีอายตนะทั้งหกทาหน้าที่รับรู้ คืออารมณ์ที่กระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ - ภาพที่เห็นด้วยตา กลิ่นที่สัมผัสด้วยจมูก เสียงที่สัมผัสได้ด้วยหู รสที่สัมผัสได้ด้วยลิ้น ธรรมะ/ความคิดที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของเรา
การทเี่รามเีจตนาทจี่ะกาหนดรใู้นลกัษณะอยา่งนี้คอืการพจิารณา ถึงกฎของไตรลักษณ์อย่างหนึ่งคือความเป็นอนัตตา อีกอย่างหนึ่งคือการ พิจารณาถึงธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทาไมถึงตรัสว่า ขันธ์ทั้งหลายเป็นคนละส่วนกัน ทาไมสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นจัดเป็นขันธ์ห้าและ เป็นคนละกองกัน เพื่อไม่ให้เราเข้าไปหลงผิดยึดติดว่าเป็นตัวเราของเรา นั่นเอง เพื่อชี้ชัดให้เห็นถึงสัจธรรมที่กาลังปรากฏอยู่ และเป็นไปตาม ธรรมชาตอิ ยทู่ กุ ขณะตลอดเวลา ตงั้ แตเ่ ราเกดิ มาจนถงึ ปจั จบุ นั ขนั ธต์ า่ ง ๆ ก็ทาหน้าที่ของตนของตนไป ทั้งภายในและภายนอกอยู่ตลอดเวลา ยิ่งเรา มีเจตนาที่จะพิจารณาในลักษณะอย่างนี้กับทุก ๆ อารมณ์ ยิ่งทาให้เรา เขา้ ใจและเหน็ ชดั ยงิ่ ขนึ้ วา่ สภาวธรรมนนั้ เปน็ ไปตามคา สอนขององคส์ มเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจริง ๆ ทุก ๆ อารมณ์ ทุก ๆ สภาวะ ทุก ๆ อาการ ที่เกิดขึ้นนั้นเป็นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่เสมอ
ทีนี้ การพิจารณาเห็นว่าจิตกับกายแยกส่วนกัน กายเป็นรูปขันธ์ ภาพต่าง ๆ ก็จัดเป็นรูปขันธ์ แล้วจิตที่ทาหน้าที่รู้ตรงนี้เป็นอะไร ? จิตที่ทา หน้าที่รู้ตรงนี้นี่แหละที่เรียกว่า “วิญญาณขันธ์” อาศัยการรับรู้ทางกาย เขา เรยี กวา่ กายวญิ ญาณจติ อาศยั การปรากฏทางตา เขาเรยี กจกั ขวุ ญิ ญาณจติ อาศัยการรับรู้ทางหู เขาเรียกโสตวิญญาณจิต อาศัยการดมกลิ่นรับสัมผัส ทางจมูก เขาเรียกฆานวิญญาณจิต เรียกตามทวารต่าง ๆ แต่จิตตรงนี้ก็ คือตัวจิตที่ทาหน้าที่รู้ เป็นวิญญาณรู้ เป็นวิญญาณขันธ์ เพราะฉะนั้น เมื่อ
93


































































































   95   96   97   98   99