Page 95 - พระอาจารย์เทศน์เนื่องในโอกาสวันสำคัญทางพุทธศาสนา
P. 95
อย่างนี้จะเห็นว่าจิตกับกายนั้นเป็นคนละส่วนอย่างสิ้นเชิง ยิ่งสังเกตยิ่งรู้ ชัดว่ากายนี้ถ้าไม่มีจิตกากับสั่งงาน เขาก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง จะอยู่ นิ่ง ๆ อยู่อย่างนี้ ยิ่งถ้าไม่มีเวทนาขึ้นมาก็จะอยู่นิ่ง ๆ ไป ทีนี้ เมื่อจิตกับ กายแยกส่วนกัน ตรงนี้เขาเรียกว่า “แยกรูปแยกนาม” แยกกายแยกจิต กัน เมื่อแยกออกแล้ว เห็นชัดถึงความเป็นคนละส่วนแล้ว จิตให้กว้างกว่า อารมณ์ต่าง ๆ กว้างกว่ารูปได้แล้ว กว้างกว่าตัวได้แล้ว ลองดู สภาพจิต ตรงนั้นเป็นอย่างไร ?
สภาพจิตใจรู้สึกอย่างไรเมื่อเห็นความจริงข้อนี้ ? คิดว่าอย่างไร ? ถามว่า “คิดว่าอย่างไร” ตรงนี้เพื่อพิจารณาว่า รูปที่นั่งอยู่เขาบอกว่าเป็น เราหรือเปล่า หรือเป็นเพียงรูป ๆ หนึ่ง ? แล้วจิตที่ว่างจิตที่กว้าง จิตที่เบา เขาบอกวา่ เปน็ เราหรอื ไม่ ? นคี่ อื พจิ ารณาถงึ ลกั ษณะของความเปน็ อนตั ตา ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา มีแต่รูปกับนามที่กาลังเป็นไปอยู่ตาม ธรรมชาติ การเห็นความจริงข้อนี้ทาให้จิตใจเป็นอย่างไร ? เกิดความสงบ เกิดความผ่อนคลาย เกิดการคลายการวาง เกิดความอิสระ ? หรืออึดอัด ขัดเคือง มีความหนัก มีความทุกข์เกิดขึ้นหรือไม่ ? หรือถูกครอบงา ด้วยอวิชชา ตัณหา อุปาทานหรือไม่ ? นี่คือการพิจารณาสารวจตรวจสอบ สภาวธรรมที่เกิดขึ้นว่าเป็นอย่างไร
เมื่อยิ่งกาหนดรู้ยิ่งสังเกตยิ่งพิจารณาไปแล้วเห็นว่า เมื่อไหร่ก็ตาม ที่กายกับจิตแยกจากกันอย่างชัดเจนอย่างสิ้นเชิงแบบนี้ ความทุกข์ไม่ เกิดขึ้น ความเป็นเราไม่เกิดขึ้น เห็นว่าความรู้สึกว่าเป็นเราหายไป อัตตา หายไป เหลือแต่รูปกับนามที่กาลังเป็นไป ความทุกข์ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ กเิ ลสไมส่ ามารถเกดิ ขนึ้ ได้ นนั่ คอื เหน็ สจั ธรรมขอ้ หนงึ่ คอื ความเปน็ อนตั ตา นั่นเอง และเห็นชัดถึงคาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า
91