Page 26 - เวทนา
P. 26
20
นั่นกลายเป็นการล่วงเกินธรรมะของผู้ปฏิบัติโดยท่ีไม่รู้ตัว ซึ่งจะมี ผลกระทบต่อตัวเอง เพราะฉะน้ัน ย้อนกลับมาดูตัวเองเยอะ ๆ เวลาปฏิบัติธรรมให้กลับมาดูตัวเอง พัฒนาตน เป็นที่ต้ัง
พระพทุ ธเจา้ เคยสอนไหมวา่ ใหไ้ ปลองคนนนั้ ดวู า่ า่ ปฏบิ ตั จิ รงิ ไหม ไหม ? ไม่เคยเลย พระพุทธเจ้ามีแต่สอนให้ย้อนกลับมาพิจารณาตนเองว่า พอ เห็นอาการอย่างนั้นไม่ดี แบบนั้น เอามาเป็นบทเรียนแล้วพัฒนาตัวเองให้ดียิ่งขึ้น ของพระพุทธเจ้า เพราะฉะน้ัน พึงพิจารณาให้ดี สังเกตให้ดี อย่าหลงว่า เรารแู้ ลว้ จะไปทดสอบวา่ เขาจะรอู้ ยา่ งนน้ั อนั อนั นไ้ี นไ้ี มด่ มด่ นี ะอนั นไ้ี นไ้ี มด่ ี ลองนอ้ มนา อาการพระไตรลักษณ์ สภาวธรรมท่ีเกิดขึ้นเป็นเร่ืองเฉพาะตัวที่เรียกว่าเป็นปัจจัตตัง ไม่ว่าใครจะดับ ได้เร็วได้ช้าก็เป็นบุญเป็นกุศลส�าหรับคนน้ันเสมออยู่แล้วว่ามีเจตนาที่ จะละที่จะดับ จิตมีความผ่องใส มีความเบิกบานในส่วนตัวของบุคคลนั้นก็เป็นบุญของเขา เราน่ีแหละที่ต้อง มาพิจารณาดูตัวเองให้เยอะว่าจะหยุดอย่างไร จะละอย่างไร จะดับอารมณ์น้ัน อย่างไร อย่างไร อย่างไร จิตถึงจะหลุดจากอารมณ์น้ันได้เร็วท่ีสุด นี่แหละเป็นสิ่งที่พึงระลึก
วันนี้พูดถึงเวทนาทางกายเป็นหลัก เพราะเป็นสภาวธรรมที่ จะเกิดข้ึนหรือที่เกิดขึ้นให้ผู้ปฏิบัติได้พิจารณา บางครั้งไม่เข้าใจว่าเวทนา คือสภาวธรรมอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้น พอมีเวทนาเกิดขึ้นผู้ปฏิบัติไม่สนใจ ไม่ใส่ใจ จะไปหาอารมณ์อื่น เคยเห็นอาการเกิดดับวุบวับ ๆ ข้างหน้าหลังจาก อาการของลมหายใจหายไปแล้ว มีอาการเป็นแสงวุบวับเป็นสีวุบวับขึ้นมา แต่พอมีเวทนาเกิดขึ้น คิดว่าไม่ใช่สภาวะ ก็เลยไม่สนใจอาการเกิดดับ