Page 35 - เวทนา
P. 35
29
สภาวธรรมที่พูดเม่ือตอนตน้ ว่า “การเข้าไปให้ถึงอาการเกิดดับของเวทนา” กับ นั้นมีความแตกต่างกัน
อาการของเวทนาที่ปรากฏในความว่างนั้น เป็นจุดท่ีผู้ปฏิบัติพึงใส่ใจ พึงเข้าไปก�าหนดรู้ ก�าหนดรู้แต่ละคร้ังเวทนาเกิดดับในลักษณะอย่างไร จากท่ีเป็นจุด มีการเปลี่ยน มีอาการเคล่ือน หรือมีอาการเกิดดับเป็นขณะ มอี าการกระตกุ เปน็ เปน็ ระยะ ๆ แตไ่ มว่ า่ า่ จะเปน็ แบบไหนกก็ า า า า า า า า า า า า า า า า า หนดรตู้ ามนนั้ ไป ไป และในขณะทเี่ ขา้ ไปกา หนดรู้ ถา้ เหน็ วา่ เวทนาทเี่ ปน็ ปน็ ปน็ จดุ เกดิ อยใู่ นความสงบ ในความว่างนั้นมีอาการเกิดดับ ให้สังเกตด้วยว่าจิตท่ีเข้าไปรู้เวทนา ที่ปรากฏในความใสสงบน้ันดับด้วยไหมในแต่ละขณะ ๆ จุดน้ีท่ีบอกว่า ให้เพิ่มความน่ิง เพิ่มความตั้งมั่นขึ้น ? ผปู้ ฏบิ ตั แิ คม่ เี จตนาและตง้ั ใจทจี่ ะกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั ของเวทนาทกี่ า า า า า า า า า า า า า า า า า า ลงั ปรากฏให้ชัดเจนเท่าน้ันเอง และถ้าเห็นว่าเวทนาดับคร้ังหน่ึง จิตก็ดับไปด้วย ในแต่ละขณะ การบีบคั้นจิตใจก็จะน้อย
แต่ถ้าเห็นแต่ว่าเวทนามีอาการเปล่ียนแปลง ๆ จิตมีความนิ่ง มี มี มี ความตั้งมั่นอยู่ แต่ไม่เห็นอาการดับของจิต เวทนาก็จะบีบค้ันจิตใจให้ทนยาก เพราะอะไร ? ของเวทนาท่ีปรากฏ เพราะฉะนั้น อาการปวดน้ีเปล่ียนไป ๆ พออาการปวดดับไปครั้งหน่ึง เห็นว่าจิตก็หายไป แล้วจิตก็โล่งเบาขึ้นมา การเกิดดับจึงท�าให้รู้สึกว่าเวทนาไม่ครอบง�าหรือไม่บีบค้ันจิตใจ เพราะทุกคร้ังที่เห็นการดับจิตจะโล่งจิตจะเบาข้ึน ดับไปแล้วจิตจะเงียบ ดับไปแล้วจิตสงบ เหมือนมีช่องว่างให้พักเป็นระยะ ๆ ช่องว่างให้พักนั้น