Page 8 - เวทนา
P. 8

2
ก็คือการตามรู้อาการทางกาย เรียกว่า เรียกว่า “กายานุปัสสนา” การตามรู้อาการของเวทนา เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า “เวทนานุปัสสนา” การตามรู้อาการทางจิต เรียกว่า เรียกว่า เรียกว่า “จิตตานุปัสสนา” การตามรู้อาการ การตามรู้อาการ การตามรู้อาการ เปลี่ยนแปลงอาการพระไตรลักษณ์ของแต่ละอารมณ์ท่ีเกิดขึ้น เรียกว่า เรียกว่า “ธัมมานุปัสสนา” ตามรู้สภาวธรรมท่ีเกิดขึ้นมา วันน้ีจะพูดถึงลักษณะ ของเวทนาท่ีเกิดขึ้น เวทนานั้นมี ๒ ระดับใหญ่ ๆ ก็คือ เวทนาท่ียังเป็น บัญญัติอยู่ เวทนาที่ยังเป็นกลุ่มก้อนอยู่ กับเวทนาท่ีเพิกบัญญัติออกไป ซึ่งเป็นสภาวธรรมที่เป็นปรมัตถ์ เวทนาตามหลักของวิปัสสนาญาณจะ เป็นทั้งบัญญัติและปรมัตถ์
ในขณะท่ีปฏิบัติธรรม ผู้ปฏิบัติใหม่ ๆ เกิดความรู้สึกว่า บางคร้ัง ก็จะเกิดความ รู้สึกว่ามีความปวดเกิดขึ้น ปวดที่ขา ปวดที่เข่า ปวดท่ีหลัง ปวดที่ไหล่ ปวดที่ศรีษะ นั่นเป็นลักษณะของเวทนาที่ปรากฏ เกดิ ขน้ึ อยา่ อยา่ งหนงึ่ งหนงึ่ นอกจากความปวดแลว้ ลกั ษณะของเวทนาอกี อยา่ อยา่ งหนงึ่ งหนงึ่ ก็คืออาการคัน คันตามหน้า คันไปท่ัวท้ังตัว บางทีคันเหมือนมดไต่มดกัด นิดหนึ่ง ๆ ยิบตรงนั้นแปล๊บตรงนี้ หรือกระจายไปทั่วทั้งตัว อีกอย่างหนึ่ง ก็คืออาการชา ปวด-เมื่อย-ชา-คัน จัดเป็นเวทนาทางกายที่เกิดข้ึน เม่ือมี เวทนาเกดิ ขนึ้ มาผปู้ ฏบิ ตั หิ รอื รอื โยคคี งไร ? จะสดู้ ไี หม หรอื จะลุกไม่ทนแล้ว เริ่มนั่งแป๊บเดียวก็ปวดเม่ือยจนไม่อยากจะนั่งกรรมฐาน ไม่อยากจะนั่งสมาธิ คนที่ไม่เคยนั่งกรรมฐานเร่ิมนั่งใหม่ ๆ แค่น่ัง ขัดสมาธิหรือนั่งพับเพียบแป๊บเดียวก็ปวดก็เมื่อยแล้ว นั่นเป็นเร่ืองปกติ เป็นเรื่องธรรมดาของผู้ปฏิบัติใหม่
































































































   6   7   8   9   10