Page 10 - เวทนา
P. 10

45
จิตใจรู้สึกคลาย ไม่ทรมาน ไม่ขุ่นมัว ไม่เศร้าหมองไม่หงุดหงิดตาม เวทนาที่เกิดขึ้น
เวทนาทางกายเปน็ ความปวดทที่ นยากเขาเรยี กทกุ ขเวทนา ในขณะ ที่ปวดมาก ๆ แทบจะทนไม่ได้ แต่พอสังเกตเห็นความเป็นคนละส่วนปุ๊บ กลายเป็นว่าท่ีปวดเหมือนจะทนไม่ได้แต่ก็ทนได้ ทนได้อย่างสงบด้วย จติ จติ จติ ไมท่ รุ รุ นทรุ าย าย าย าย จติ จติ จติ ไมข่ นุ่ มวั ไมเ่ ศรา้ หมอง จติ จติ จติ ไมไ่ ดท้ กุ ขก์ บั บั เวทนาทางกาย ที่เกิดขึ้น
ตรงนี้ผู้ปฏิบัติก็จะเห็นว่าทุกข์กายกับทุกข์ใจเป็นคนละส่วนกัน เวทนาทางกายกับเวทนาทางจิตนั้นเป็นคนละอย่างกัน ทางกายนั้นรู้สึก ถึงความปวดชัดเจน แต่ว่าสภาพจิตใจกลับรู้สึกสงบนิ่งไม่ทุรนทุรายกับ เวทนาทางกายท่ีเกิดข้ึน เพราะฉะน้ัน พอเห็นถึงความเป็นคนละส่วน และไม่ได้ บอกว่าเป็นเรา นี่แหละคือปัญญาที่เกิดขึ้นจากการพิจารณาสภาวธรรม เม่ือมีปัญญาเกิดขึ้นอย่างนี้แล้วความทุกข์ทางใจไม่เกิดขึ้น ความขุ่นมัว ความเศร้าหมองของจิตไม่เกิดขึ้น จิตกลับมีความตั้งมั่น เพราะสติ-สมาธิ มีก�าลังมากขึ้น พอสังเกตเห็นอย่างน้ีแล้ว ต่อไปจะพิจารณาอย่างไร ? ตามหลัก ของวิปัสสนาเราพิจารณาถึงกฎไตรลักษณ์ เพราะฉะนั้น ให้มีสติเข้าไป ก�าหนดรู้ว่าเวทนาท่ีก�าลังปรากฏเกิดข้ึนอยู่น้ันมีการเปลี่ยนแปลงหรือ เกิดดับอย่างไร คนละส่วนกันแล้ว ก็สังเกตดูว่าความปวดที่เกิดข้ึนน้ันมีการเปลี่ยนแปลง หรือมีการเกิดดับไหม การท่ีสนใจว่าเวทนาที่ปรากฏเกิดข้ึนน้ันมีการ เปล่ียนแปลงมีการเกิดดับในลักษณะอย่างไร คือการเข้าไปศึกษาถึง กฎไตรลักษณ์ ความเป็นอนิจลักษณะ-ทุกขลักษณะ-อนัตตลักษณะ































































































   8   9   10   11   12