Page 12 - เวทนา
P. 12

6
ค่อย ค่อย ๆ ๆ ๆ ๆ ขยับไป ค่อย ค่อย ๆ ๆ ๆ ๆ จางลง เบาไป ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ แล้วก็ไปหยุดค้างอยู่ นี่ก็คือ ความเปลี่ยนแปลง เขาเรียกว่าเห็นท้ังการเกิดขึ้นและการตั้งอยู่ของเวทนา เกิดเป็นขณะ เข้าไปรู้แล้วปวดขึ้น ๆ ๆ ๆ ปวด ปวด ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ ๆ มากขึ้น มากขึ้น แรงข้ึน แล้วก็ หยุดค้างอยู่ พอถอยออกมา นิ่ง ต้ังสติ เข้าไปรู้ใหม่ เห็นเวทนาน้ันเบาลง จางลง ๆ สลับกันอยู่อย่างน้ีทั้งบัลลังก์
ถ้าเห็นว่าเวทนาสลับกันอยู่อย่างนี้ทั้งบัลลังก์ แสดงว่าผู้ปฏิบัติ มีอารมณ์เดียว คือมีเวทนาอย่างเดียวเป็นอารมณ์หลักในการเจริญ กรรมฐานอยู่ สมาธิก็จะต้ังมั่นข้ึน จิต จิต จะเข้มแข็งขึ้น จิตจะหนักแน่นม่ันคงในอารมณ์ท่ีเกิดขึ้น ต่อสู้กับเวทนา ได้ดี ในการเจริญ กรรมฐานน้ันบางทีโยคีเกิดความรู้สึกว่า พอเวทนาเกิดขึ้นมาแล้วจะต้อง เอาชนะเวทนาให้ได้ และถ้าชนะเวทนาเม่ือไหร่ จิตจะมีความโล่ง ความโปร่ง ความเบา ความสว่าง ความผ่องใสเกิดขึ้น น่ันคือสิ่งที่ได้ยินได้ฟังมาจาก ผู้ปฏิบัติท่ีเคยเจอสภาพอย่างนั้นมา แต่พออยากจะเอาชนะก็จะมีตัวตน พอมีตัวตนขึ้นมาเวทนาก็ยิ่งแก่กล้าเป็นบัญญัติเป็นกลุ่มก้อนหนักข้ึน “ความอยากที่จะชนะ” กับ “ความอยากที่จะรู้ถึงการเปลี่ยนแปลง ถงึ ถงึ การเกดิ ดบั ถงึ ถงึ ความเปน็ คนละสว่ นของเวทนากบั จติ ” ” นนั้ คนละอยา่ งกนั
การอยากที่จะเห็นอยากที่จะรู้ถึงสัจธรรมว่า เวทนาที่ปรากฏเกิดข้ึนมาน้ัน มีความเปลี่ยนแปลง มีการเกิดดับอย่างไร เป็นของไม่เท่ียง ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ตัวตน ไม่ได้บอกว่าเป็นเราเป็นเขาเป็นใคร การพิจารณาตรงน้ีแหละคือการศึกษาธรรมะค�าสอนของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่เข้าไปบังคับให้เวทนาน้ันหมดไปหายไปเพ่ือเอาชนะเวทนา ส่วนใหญ่แล้ว พออยากจะเอาชนะ จิตจะมีความทรมาน มีความหนัก มีความบีบคั้นมาก































































































   10   11   12   13   14