Page 105 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 105

87
ชอบเลย แต่คิดถึงเขาบ่อย ๆ ความไม่พอใจ ความหงุดหงิด ความราคาญใจ เราไม่ชอบ แต่ก็คิดถึงและเสพอารมณ์นั้นบ่อย ๆ ก็เลยทาให้เราสั่งสมความ ทุกข์ไปเรื่อย ๆ แต่เมื่อปล่อยจิตให้กว้างให้ว่างออกไป ใจกลับรู้สึกสะอาด กลับรู้สึกเบา ตัวก็เบา สังเกตไหมว่า พอเราทาใจของเราให้กว้างออกไป ตัวที่นั่งอยู่ก็ยังเบา เขาเรียกว่า “กายลหุตา จิตลหุตา” กายเบาจิตเบา กาย ตรงจิตก็ตรง จิตตั้งมั่นกายก็ตรง จิตไม่ตั้งมั่นกายก็ไม่ตรง
เพราะฉะนั้น ที่บอกว่า “วิธีการดับทุกข์” คือ “ขยายจิตของเราให้ กวา้ ง” ถา้ เมอื่ ไหรท่ รี่ สู้ กึ มคี วามทกุ ขข์ นึ้ มา แลว้ มนั แนน่ ขยายความรสู้ กึ ทแี่ นน่ อึดอัดให้กว้างออกไป ไม่ต้องเก็บเอาไว้หรอก ไม่ต้องเสียดาย เดี๋ยวมันก็มา ใหม่แหละ ตราบใดที่เรายังมีชีวิตอยู่ ถ้าเรายังไม่ละกิเลสอย่างสิ้นเชิง เดี๋ยว เขาก็มาอีก... ไม่ต้องเสียดาย! ทุกข์แล้วก็รีบ ๆ ดับเสีย เห็นแล้วก็ดับไป
อีกอย่างหนึ่งก็คือ เมื่อเราทาใจของเราให้กว้างให้ว่างได้ “วิธีป้องกัน ความทุกข์ไม่ให้เกิดขึ้น” ถ้าเรื่องเดิม ๆ เกิดขึ้นมาแล้วทาให้เราทุกข์ อย่างที่ บอกว่าเวลารับรู้ทุกครั้ง “ให้จิตหรือสติของเรากว้างกว่าเรื่องนั้น ๆ” สังเกต ไหมว่า จิตเราให้กว้างเท่าท้องฟ้าได้ อะไรในโลกนี้ที่ใจเรากว้างกว่าไม่ได้ ? จิตเราให้กว้างไม่มีขอบเขตได้ วัตถุสิ่งไหนที่อยู่บนโลกนี้ แล้วใจเรากว้าง กว่าไม่ได้ ? เพราะโลก ๆ นี้ก็ตั้งอยู่ในจักรวาล แต่จิตของเราไปได้ไม่มี ขอบเขต ไม่มีประมาณ
เพราะฉะนั้น ถ้าเราฝึกให้ชานาญ เราจะใช้งานได้ดีในชีวิตประจาวัน ของเรา ถึงแม้จะอยู่ในที่แคบ ๆ ในที่แออัด ก็รู้สึกได้ว่าอยู่คนเดียว เมื่อไหร่ ที่เราปล่อยจิตของเราให้กว้างไม่มีขอบเขต เมื่อจิตเราอิสระ สิ่งรอบข้างไม่ บีบคั้นเรา เรานั่งชิด ๆ กัน ก็จะไม่รู้สึกว่าบีบคั้นหรืออึดอัด เพราะจิตเรา อิสระ แต่ถ้าจิตเราไม่อิสระขอบเขตความเป็นตัวตนเราจะกว้าง ใครเข้ามา ใกล้ก็ไม่ได้ เริ่มอึดอัดแล้ว! ยิ่งจิตเราแคบก็ยิ่งอึดอัด มีอยู่สิ่งเดียวที่ไม่ เบียดเบียนกัน ไม่กระทบกัน คือ “จิตที่กว้าง”


































































































   103   104   105   106   107