Page 256 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 256
238
“อยากรู้” เป็น “ธัมมวิจยะ” แต่ไม่ใช่ต้องได้เดี๋ยวนี้ อยากให้เป็นอย่าง นี้... แล้วก็ยึดเอาไว้ อย่างนั้นไม่ดี! เดี๋ยวก็เป็นกิเลส แต่ถ้าอยากรู้ ประกอบ ด้วยปัญญา ปัญญาก็จะเกิด ความอยากที่ไม่มีตัวเราเข้าไปด้วย ก็จะเป็น ปัญญา คือมีแต่จิตที่ทาหน้าที่รู้กับอาการที่เกิดขึ้น แต่ที่อยากมาก ๆ ทาไม ถึงห้าม ? เพราะมีเราเข้าไป มีตัวฉัน ตัวกูของกู หรือมีตัวตนนั่นแหละ พอ อยากมาก ๆ เคร่งมาก ๆ ก็พยายามบังคับมาก พอบังคับมากก็อึดอัดมาก เพราะว่ามันคับ มันก็อึดอัด อะไรที่ใส่แล้วคับ ๆ ก็อึดอัดทั้งนั้นแหละ แต่ ตั้งใจเป็นสิ่งที่ดี ความเพียรเป็นสิ่งที่ดี ความเพียรอย่างพอใจที่จะกาหนดรู้
เพราะฉะนั้น เราใช้ “ตัวฉันทะ” เข้ามา องค์ธรรมที่เป็นไปเพื่อความ สาเร็จ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา เปรียบเหมือนวงล้อที่นาไปสู่ความเจริญ ฉะนั้น เวลาเรากาหนดอารมณ์ เราเพียร พอใจที่จะกาหนดรู้ พอใจที่จะเดิน จงกรม พอใจที่จะนั่งสมาธิ พอใจที่จะมีสติกาหนดรู้ทุก ๆ อารมณ์ที่เกิดขึ้น ที่มากระทบทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ กลายเป็นอะไร ? กลายเป็นความ เพียรไปโดยอัตโนมัติ เพราะเราพอใจที่จะกาหนดรู้อาการเกิดดับของทุก ๆ อารมณ์ ทุก ๆ ขณะ ทุก ๆ อิริยาบถ ก็กลายเป็นว่าสติเรามีความต่อเนื่อง นั่นแหละธรรมะเป็นความเชื่อมโยงต่อกัน
ในขณะที่เราพอใจที่จะทา และทาอย่างไม่เครียด เมื่อไหร่ที่มีความ พอใจ ก็จะสนุกกับการกาหนดอารมณ์ รู้ว่าเขาเปลี่ยนแบบนี้ สภาพจิตเป็น อย่างนี้ ดูอาการนี้เกิดดับไป สภาพจิตเป็นไปอย่างนี้ แล้วจะรู้ว่าความพิสดาร ความมหศั จรรยข์ องสภาวธรรม ของรปู นาม ยงั มมี ากมาย ความพสิ ดาร ความ มหัศจรรย์ของรูปนามอันนี้ ที่เรากาลังศึกษาอยู่นี้ ศึกษาจากตัวเองทั้งสิ้นเลย เป็นหนังสือเล่มใหญ่ที่เป็นไปเพื่อความดับทุกข์ ถ้าใครเปิดอ่านดี ๆ แล้วจะ มีสิ่งดี ๆ มากมาย ไม่ต้องไปซื้อ ดูตรงนี้แหละ! ไปไหนก็เปิดอ่านได้ตลอด เวลา ดูกายดูจิตของเรา นั่นแหละเป็นสิ่งสาคัญ
เราปฏบิ ตั ธิ รรม ถา้ เราเขา้ ใจตรงนี้ เวลาของการปฏบิ ตั มิ ตี ลอดชวี ติ อยู่