Page 325 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 325

307
เพราะฉะนั้นเวลาเรามีความทุกข์ ไม่ว่าการรับรู้อารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย หรือใจก็ตาม แล้วมีความทุกข์เกิดขึ้นชั่วขณะหนึ่งนั้น เพราะว่ามี เราเกิดขึ้น จึงมีเราทุกข์ ถ้าไม่มีเราเกิดขึ้น ความทุกข์ยังไม่เกิด มีแต่ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วก็จิตทาหน้าที่รู้ ไม่มีเราเข้าไปเสวยอารมณ์อันนั้น เขาเรียกรับรู้อารมณ์อันนั้นได้ รู้ว่าดีหรือไม่ดี แต่ไม่มีผู้เสวยอารมณ์อันนั้น ไม่มีรสชาติ ไม่รับความทุกข์จากอารมณ์ที่เกิดขึ้น ตรงนั้นเขาเรียกไม่เสวย อารมณ์อันนั้น แต่จิตทาหน้าที่รับรู้ตามธรรมชาติของเขา ธรรมชาติของจิต ที่ทาหน้าที่รับรู้ เขาจะรู้ทุกเรื่องทุกอย่างที่เกิดขึ้น ที่ผ่านเข้ามาทางทวารทั้ง ๖ ไม่เลือก เหมือนอันนี้เป็นธรรมชาติ
สัญญาก็เหมือนกัน เขาจะจาทุกเรื่องที่ปรากฏเข้ามา อันไหนเด่น อันไหนประทับใจ เขาจะจาได้นาน อันไหนเขาไม่ประทับใจ เขาจะจาได้แป๊บ หนึ่งแล้วก็ผ่านไป ใช่ไหม ? ธรรมะก็เหมือนกัน จาได้แป๊บเดียวลืมแล้ว.. ใช่ไหม ? ลืมง่ายจัง แต่ความทุกข์ทาไมลืมยากจัง ? ความทุกข์ เรื่องที่ทาให้ ทุกข์ก็เก็บนาน แสดงว่าเราประทับใจกับเรื่องที่ทาให้ทุกข์ ไม่ใช่พอใจนะ ประทับใจ อารมณ์มันชัดเจน เขาเรียกอารมณ์ที่ชัดที่สุดในใจเรา มันประทับ มันติดอยู่ที่ใจของเรา ทั้งดีและไม่ดี อย่างเช่น ความสุขก็เหมือนกัน ถ้าสุข จากธรรมะ เวลาเรานั่งปฏิบัติไปรู้สึกโล่ง สว่าง เบิกบาน ผ่องใส เราจะจา ไม่ลืม นึกถึงเมื่อ ๑๐ ปีก่อนก็ยังจาได้เลย นึกออกว่า อ๋อ.. รู้สึกมันโล่งเบา แบบนี้ นนั่ คอื อารมณท์ ปี่ ระทบั ใจ ความสขุ กเ็ หมอื นกนั ความทกุ ขก์ เ็ หมอื นกนั อารมณ์ไหนที่ประทับใจ จิตเราจะเก็บ สัญญาทาหน้าที่ของเขาไม่ลาเอียง แตต่ วั ทที่ า หนา้ ทเี่ ลอื กคอื ปญั ญาของเรา วา่ เลอื กทจี่ ะใสใ่ จอารมณไ์ หนมากกวา่ ให้ความสาคัญกับสิ่งไหน ให้ความสาคัญกับสิ่งนั้นเพื่ออะไร เห็นประโยชน์ อะไรถึงให้ความสาคัญกับสิ่งนั้น ? เราจะได้เลือกถูกว่า เวลาเรื่องราวต่าง ๆ เกดิ ขนึ้ มารอบตวั เราเนยี่ วา่ ควรจะใหค้ วามสา คญั กบั สงิ่ ไหน ? ตอ้ งถาม.. “เพอื่ ประโยชน์อะไรเราจึงต้องให้ความสาคัญกับสิ่งนั้น ?” หรือว่า “เห็นประโยชน์


































































































   323   324   325   326   327