Page 44 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 44

26
ลอย ๆ เพราะจิตเบาตัวก็เบา จิตที่เบา คือจิตที่เป็นกุศล เราก็จะขึ้นข้าง บนอย่างเดียว เมื่อไหร่ที่จิตเราหนัก จิตเป็นทุกข์ จิตเป็นอกุศล จะถ่วงลง
ทุกครั้ง
สังเกตง่าย ๆ เวลาเราโกรธ น้าหนักตัวจะเพิ่มขึ้นหลายเท่า ใช่ไหม ?
เวลาเราเป็นทุกข์ ไม่พอใจขึ้นมา น้าหนักตัวจะเพิ่มขึ้นหลายเท่าเลย เดินเสียง ดังกว่าเดิม คาพูดก็จะมีน้าหนักมากกว่าเดิม เพราะฉะนั้น เวลาเรานั่งแบบนี้ นั่งอยู่ในความว่าง เวลาเดินจงกรม อย่างที่บอกตอนแรกว่า ถ้าเดินแล้วเอา จิตที่ว่าง ๆ คลุมตัว แล้วเดินเข้าไปในความว่าง ลองดูว่ารู้สึกยังไง ? จะเป็น ยังไง ? อันนี้การบ้านนะ การบ้านที่ต้องทา พรุ่งนี้มาเล่าให้อาจารย์ฟัง ทาแล้ว เป็นยังไง ? เวลาเดินจงกรม เดินแล้วเป็นอย่างไร ? เดินแล้วรู้สึกสงบขึ้น ไหม ? เบาขึ้นไหม ? เห็นอาการเกิดดับของการเดินไหม ?
วนั นที้ สี่ อนจา ไดน้ ะอะไรบา้ ง จา ได้ ๑) การแยกรปู นาม ทา ใจใหว้ า่ ง ๒) ให้ใช้ใจที่ว่างทาหน้าที่รับรู้อารมณ์ ขณะที่ตามดูลมหายใจเข้าออก ให้เอาใจที่ ว่างเบาตามรู้อาการเกิดดับของลมหายใจเข้าออก ขณะที่ตามรู้กาหนดพองยุบ ให้ใจที่ว่างที่เบาเป็นผู้ตามกาหนดรู้ ว่าเขาเกิดแล้วดับอย่างไร ดูอาการเกิดดับ ของพองยุบ เวลามีความคิดเกิดขึ้นมา ให้ใจที่เบา กว้างกว่าเรื่องที่คิด แล้ว สังเกตดูว่า ความคิดที่เกิดขึ้นมา เขาเกิดดับในลักษณะอย่างไร ที่บอกต้องมี “เจตนา” รู้ว่าเขาเกิดและดับอย่างไร ไม่ใช่มีเจตนาที่จะดูสิว่าเขาจะไปถึงไหน เจตนานคี้ นละอยา่ งกนั เลยนะ เจตนาทจี่ ะรวู้ า่ เขาเกดิ และดบั อยา่ งไรกบั เจตนา ที่จะรู้ว่าเขาจะไปถึงไหน เป้าหมายคนละอย่างกัน
เพราะฉะนั้น การที่เราจะเห็นอาการเกิดดับได้ ต้องมี “เจตนา” ที่จะ รู้ว่า เขาเกิดและดับในลักษณะอย่างไร ลักษณะการดับก็คือ การเกิดดับ ๑) ความคิดผุดขึ้นมาทันที แล้วก็แวบหายไป ๒) ค่อย ๆ ไหลเข้ามาบาง ๆ บาง ๆ ค่อยจางหายไป ๓) ผุดขึ้นมา แล้วค่อย ๆ จางไป ๔) ค่อย ๆ ชัด ขึ้นมา ชัดขึ้นมา แล้วก็ดับปึ๊บทันที อันนี้คือลักษณะอาการดับของอารมณ์ที่


































































































   42   43   44   45   46