Page 95 - ธรรมปฏิบัติ 1
P. 95

77
สามารถหลุดพ้นได้ เพราะฉะนั้น ถ้าเราเชื่อมั่นจริง ๆ เราทาตามจริง ๆ หนี ไม่พ้นหรอก เราก็ไปตามทางที่พระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้นั่นแหละ เพราะฉะนั้น อย่าตั้งเงื่อนไขให้ตัวเองปฏิบัติธรรมไม่ได้ ฉันไม่ได้ปฏิบัติเลย งานยุ่งมาก จะ เจริญสติก็ไม่ได้! เพราะไม่มีมีสตินั่นแหละถึงยุ่ง! ลองตั้งสติดี ๆ
เป็นเรื่องแปลกมาก ๆ นะ การทางาน เมื่อเรามีสติ เหมือนเราทา ช้า ๆ แต่ว่าไว เพราะอะไร ? เขาเป็นระเบียบ กับคนที่ทาอะไรไว ๆ แล้วสับสน ทาตั้งนานได้ไม่กี่อย่างเอง เพราะฉะนั้น สังเกตไหม ทุกวันนี้เรา ดารงชีวิตอยู่ เราก็อาศัยสติ เพียงแต่เป็นสามัญสติ สติทั่ว ๆ ไป “โลกุตรสติ” สติที่เป็นไป เพอื่ ความดบั ทกุ ข์ การดบั ทกุ ขก์ ค็ อื เรากา หนดรถู้ งึ อาการเกดิ ขนึ้ ตงั้ อยู่ ดบั ไป ทุกครั้งที่เราดับความทุกข์ได้ เราใช้อะไร ? โลกุตรสติ ใช่ไหม ? แต่เราไม่ ต้องไปแยกว่า อันนี้เรียกว่าโลกุตระหรือยัง ? อันนี้เป็นสามัญสติหรือ เปล่า ? ไม่ต้องไปแยกหรอก เดี๋ยวกลายเป็นว่าปฏิบัติธรรมเป็นเรื่องยาก อีก เมื่อไหร่ที่เรารู้ แล้วความทุกข์เราดับ ก็ถือว่าดีแล้ว ไม่ต้องไปแยกอะไร มากมาย
เพราะฉะนั้น การปฏิบัติธรรมจึงทาให้เป็นกิจวัตร ทาให้เป็นเรื่องปกติ ของชีวิตเรา รู้เมื่อไหร่ก็เมื่อนั้นแหละ เออ! เมื่อกี้เผลอไป รู้สึกตัวเมื่อไหร่ก็ รู้อารมณ์ปัจจุบันต่อ จะมีลักษณะที่ว่า พอรู้สึกตัวขึ้นมา เราจะไปรู้อะไรก่อน ? ไปรู้จิตเราก่อน หรือรู้อาการเลย ? อันนี้ต้องอยู่ที่เจตนานะ ถ้าเราจะรู้ว่า จิตเราเป็นยังไง รู้สึกตัวขึ้นมา อ๋อ! ลืมไป มาดูที่จิตเราว่าจิตเรารู้สึกเป็นไง ? พอมาดูที่จิตเรา มันหนัก ๆ นะ เริ่มขุ่น ๆ เราก็ดับอาการขุ่นนั้นก่อน แล้ว ค่อยไปรู้อาการอื่น เพราะความขุ่นเป็นเชื้อของอารมณ์ที่จะเข้ามา...
ความขุ่นมันเป็นเชื้อ ถ้าอย่างอื่นที่ไม่พึงประสงค์ ไม่พึงปรารถนาเข้า มาอีก เริ่มจากขุ่น แล้วมันก็จะขุ่นขึ้น ขุ่นขึ้น... แล้วก็มืด เขาเรียก “หน้ามืด” ข่มไม่อยู่แล้ว สังเกตไหม พอขุ่นมาก ๆ เวลาเราโกรธนี่หน้ามืด อาจารย์ยัง นึกว่า อ้อ! คนโบราณเขาใช้คาว่าว่า “หน้ามืด” จริง ๆ เมื่อใจเรามืด ไม่เห็น


































































































   93   94   95   96   97