Page 13 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 13

อันนี้คือวิธีการกาหนดอาการในอิริยาบถย่อย พอเสร็จแล้วมาดูสภาพจิต กลับมาดูสภาพจิตเป็นระยะ พอจบไปปุ๊บ กลับมาดูสภาพจิต จิตรู้สึก เป็นอย่างไร กวาดจบแล้ว รู้สึกโล่งขึ้น เบาขึ้น อันนี้ก็ต้องรู้ หรือจบแล้ว รู้สึกนิ่ง ๆ ยิ่งสังเกตอาการเกิดดับของอาการกวาดไปเรื่อย ๆ ๆ จิตยิ่งนิ่งขึ้น ๆ อันนี้อย่างหนึ่งคือผลที่ตามมา สังเกตผลที่ตามมาว่า อาการเกิดดับ เปลี่ยนไป สภาพจิตเปลี่ยนไปอย่างไร สังเกตควบคู่กัน หรือบางครั้งพอ ตามอาการไปเพลิน ๆ บรรยากาศที่รองรับหายไป ก็นิ่งใหม่ แล้วก็ยกจิต ทาจิตให้ว่างให้กว้างขึ้นอีก ให้มีบรรยากาศรองรับอีก สังเกตแบบนี้ไป
จรงิ ๆ แลว้ ระหวา่ งทเี่ รากวาด เรากเ็ ดนิ ไปดว้ ย จติ เราสามารถรบั รู้ สลับอารมณ์ระหว่างอาการกวาดและอาการเดินเพื่อความต่อเนื่องของสติได้ อยา่ งเชน่ กวาด ๆ อยู่ พอยกไมก้ วาดขนึ้ มาจะเดนิ ไปกวาดอกี ตา แหนง่ หนงึ่ เราก็ต้องรู้สึกทันทีว่า จิตมาอยู่ที่เท้า สังเกตอาการเคลื่อนไหวของเท้า ว่ามีอาการอย่างไร ถ้าสังเกตอาการต่อเนื่องแบบนี้ได้จะดีมาก ๆ เลย เพราะบรรยากาศรองรบั อารมณจ์ ะเปน็ ตวั ปอ้ งกนั อารมณภ์ ายนอกไมใ่ หเ้ ขา้ มารบกวน กลายเป็นว่าอยู่กับกรรมฐานอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ถ้าเรา อยใู่ นอริ ยิ าบถยอ่ ยแลว้ มบี รรยากาศรองรบั มอี ารมณฌ์ านรองรบั ลองดวู า่ สภาพจิตใจขณะนั้นวุ่นวายไหม สงบไหม รู้สึกดีไหม สบายไหม ? อันนี้ คือสภาวะที่โยคีจะต้องสังเกตทั้งหมด แล้วมาตอบอาจารย์ว่าดีอย่างไร และสาคัญอย่างไร แต่สาคัญแน่นอน คือความต่อเนื่องของสติ เมื่อมีสติ ต่อเนื่องในอิริยาบถย่อยทุก ๆ อาการ พอกลับมาดูอิริยาบถหลัก พอเริ่ม นิ่งเตรียมตัวที่จะเดินจงกรม บรรยากาศของความรู้สึกที่ว่าง ที่เบา ที่สงบ จะปรากฏขึ้นมา นั่นหมายถึงว่ามีสมาธิรองรับต่อเนื่องได้ทันที จากนั้น เมื่อกาหนดอาการ ก็มีเจตนาจดจ่อไปที่อาการเดินว่ามีการเกิดดับอย่างไร
7
































































































   11   12   13   14   15