Page 33 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 33

ไม่เข้าไปยึดเอาอันนั้นอันนี้มาเป็นตัวเราของเรา ว่าเป็นของเที่ยง มันต้อง เป็นอย่างนี้ ๆ แล้วพอไม่เป็นดั่งใจก็เลยทุกข์ขึ้นมา
พอสงั เกตรวู้ า่ ตน้ จติ คอื รกู้ อ่ นนดิ หนงึ่ ๆ การกา หนดตน้ จติ จะใหด้ ี ก็คือว่า ให้สังเกตในทุก ๆ อิริยาบถ ทุก ๆ อาการ ทุก ๆ การเคลื่อนไหว จะหยิบจะจับ จะเคลื่อนไหว จะล้างหน้าแปรงฟัน จะตักอาหาร หรือ ทากิจกรรมอะไรก็ตาม สังเกตว่าจิตรู้ก่อนไหม วิธีการ คือ ให้จิตที่ว่าง กว้างกว่าตัว แล้วมีความพอใจ เราควรจะตั้งจิตมีเจตนาที่จะรู้ทันจิตตัวเอง มันจะได้ไม่อึดอัด เราพอใจที่จะรู้ต้นจิต จะได้รู้ทันตัวเอง ดูซิว่าต้นจิตทางาน อย่างไร ตรงนี้แหละจะได้รู้ว่า ต้นจิตบางทีไม่ได้เกิดจากความอยากแล้ว เราสงั่ แตม่ นั ทา งานจากความรสู้ กึ ภายในลกึ ๆ ของเราทอี่ ยากโนน่ อยากนี่ บางทีสั่งให้หยุดมันก็ไม่หยุด แม้เราไม่อยากแต่เขาก็ไป เราจะได้เห็นชัดขึ้น วา่ นนั่ คอื ความละเอยี ดของจติ ถา้ สตเิ ราชดั ขนึ้ จะเหน็ เลยวา่ อาการทางกาย ของเรา ถ้าจิตไม่สั่งให้ทา ก็ไม่ทา ลองดูตอนนี้ เวลาเราพูด ถ้าจิตไม่สั่ง ให้พูด มันจะพูดไหม ? บางทีเขามีเหตุปัจจัยของเขาเอง หรือเป็นเงื่อนไข อย่างเช่น เราลืมตานาน ๆ ไม่กะพริบตาเลย จะอยู่ได้นานแค่ไหน ? สังเกต ก่อนที่กะพริบตา จิตเขาสั่งไหม ? มีอาการอะไรเกิดขึ้นที่ตาเรา จิตเขาถึงต้องสั่งให้กะพริบตา ? บางทีเราก็บอกว่าเป็นปฏิกิริยาตามธรรมชาติ นั่นคือเราไม่ได้สังเกตรายละเอียด เหตุที่ทาให้ต้องกะพริบตาคืออะไร ? มันจะมีเวทนา แล้วจิตก็สั่งให้กะพริบ นี่คือความละเอียดของต้นจิตเรา
เพราะฉะนนั้ การสงั เกตตน้ จติ จรงิ ๆ แลว้ ตอ้ งทา ทกุ วนั เลย ตงั้ แต่ เริ่มปฏิบัติ ต้องทาทุกวันจะเป็นการดี ไม่ใช่อาจารย์ให้การบ้านไปดูต้นจิต ดูวันเดียว เห็นแล้วก็ทิ้งไป! ปฏิบัติธรรมอยากได้ธรรมะ อยากมีสภาวะดีขึ้น ทาวันเดียวก็ทิ้งไป!? จริง ๆ แล้วต้องทาจนถึงโน่น...นิพพานเลย เราต้อง
27































































































   31   32   33   34   35