Page 32 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 32

26
ก็กลายเป็นความเคยชิน ตรงนี้เขาเรียกเป็นอุปนิสัย กลายเป็นนิสัยชอบ มองในแง่นี้ เห็นอะไรมันก็เลยทาหน้าที่ด้วยความชานาญ มันก็เลยมอง ในมุมที่เราคุ้นชินก่อน พออาศัยความเคยชิน มองปุ๊บมันก็ปรุงแต่งไหลตาม กว่าจะรู้สึกตัวได้ หรือกว่าจะถอยกลับมาดูเห็นตัวเองว่าเราเผลอไปแล้ว ทาให้ตัวเองเดือดร้อนอีกแล้ว ปรุงแต่งให้ตัวเองเป็นทุกข์แล้ว บางทีรู้สึก ไม่สบายใจแล้วถึงรู้สึกตัวว่าเผลออีกแล้ว เขาเรียกว่าจิตเราปรุงแต่งไปจนมี กาลังมากแล้ว เพราะฉะนั้น ในการปฏิบัติ การสังเกตต้นจิต จริง ๆ เป็น เรื่องที่สาคัญมาก ๆ ถ้าใครทาได้
วธิ กี ารสงั เกตตน้ จติ ลองดู ทา ใจใหว้ า่ ง ใหก้ วา้ งกวา่ ตวั แลว้ สงั เกต ดูว่า เวลาเราจะขยับตัว จะขยับนิ้วก็ได้ หรือจะกะพริบตา รู้สึกก่อนไหม รู้สึกได้ง่ายกว่าหรือเปล่า ? เพราะใจที่ว่างคือตัวสติ เพราะฉะนั้น เวลา จะขยับปึ๊บ เขาจะรู้สึกก่อน รู้สึกได้เร็ว ตรงนี้แหละเหตุผลว่าทาไมต้องทาจิต ให้ว่างให้กว้างกว่าตัว เพราะจิตที่ว่าง ที่กว้างกว่าตัว เขาจะทาหน้าที่รับรู้ เขาเป็นสติในตัว เพราะฉะนั้น เมื่อมีเจตนาที่จะรู้ต้นจิต เขาก็จะทาให้ รู้สึกได้เร็วขึ้น ตรงนี้แหละการที่เราแยกรูปนาม ทาจิตให้ว่าง ให้กว้างเป็น บรรยากาศ แลว้ สงั เกตตน้ จติ มนั กจ็ ะเปน็ ตวั ทา ใหส้ ตเิ รามกี า ลงั เพราะเวลา จิตเราว่าง เขาจะนิ่ง สงบ เขาไม่วุ่นวาย เขาจะรู้สึกได้ง่ายขึ้น ต้นจิตเป็น ของที่ละเอียด ถ้าจิตเราว่างเบา นิดเดียวก็จะรู้ แต่ถ้าจิตเราไม่ว่าง เราก็มัวรู้ แต่อาการอย่างเดียว ไม่เห็นต้นจิตเวลาขยับ บางทีสติเราไม่ดี ขนาดขยับ ไปแล้ว ทาไปแล้ว เจ็บไปแล้ว ยังไม่รู้ว่าอะไรเกิดขึ้นมาเลย นี่แหละต้นจิต จึงเป็นสิ่งสาคัญของการปฏิบัติ เพราะฉะนั้น คาว่า “ปฏิบัติธรรม” คือเรา มาฝึกจิตตัวเองให้มีสติมากขึ้น มีสมาธิมากขึ้น มีปัญญามากขึ้น เพื่อที่จะ รู้เท่าทันกิเลสตัวเอง เพื่ออะไร ? รู้เท่าทันกิเลสตัวเองก็เพื่อที่จะไม่ทุกข์
































































































   30   31   32   33   34