Page 30 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 30

24
นั่งแบบนี้ เราจะไม่มีอาการเผลอนั่งแบบทิ้งตัว เวลาจะเหยียบอะไร เราก็ จะรู้สึกว่ามีสติไปก่อน มีจิตไปก่อนก่อนที่จะวางเท้าลง เป็นการเดินอย่าง มีสติ มีสติกากับการกระทาของตัวเอง
จริง ๆ แล้วสิ่งที่ผู้ปฏิบัติจะต้องสังเกต ใหม่ ๆ เราไม่ทันทั้งหมด หรอก ไม่มีใครทัน มีแต่เดี๋ยวลืมเดี๋ยวเผลอ เดี๋ยวลืมเดี๋ยวเผลอ... อันนี้ เป็นเรื่องปกติ แต่เราต้องเปลี่ยนปกติใหม่ ให้มันทันมากขึ้น ทันมากขึ้น ทันมากขึ้น นั่นคือหน้าที่เรา พอสติมากขึ้น เวลาจะขยับจะเคลื่อนไหว เราจะรู้ทันการกระทาของตัวเอง สิ่งที่ตามมาก็คือ จะเห็นการเกิดการดับ ของอาการเคลื่อนไหวของเรามากขึ้น ยกขึ้นมาแล้วดับไปก่อนไหม ก่อนที่จะก้าวไป ก้าวไปเสร็จ กระทบแล้วดับอย่างไร อาการเกิดดับของ การเดินก็จะชัดขึ้นมา นั่นเป็นเพราะสติมากขึ้น อาการเกิดดับก็จะชัดขึ้น อันนี้อย่างหนึ่ง อันนี้พูดถึงสภาวะล้วน ๆ นะ แล้วขณะที่เห็นอาการเกิดดับ แบบนี้ปึ๊บ ผู้ปฏิบัติจะรู้สึก... เฉลยอีกแล้ว! จริง ๆ แล้วผู้ปฏิบัติจะต้อง มาเลา่ ใหฟ้ งั วา่ ทา แลว้ รสู้ กึ อยา่ งไร วนั นสี้ ตริ ตู้ น้ จติ ตอ่ เนอื่ งประมาณสกั สบิ นาที ทาให้จิตเรามีความตื่นตัว ตั้งมั่นขึ้น สติดีขึ้น... ถ้าเป็นอย่างนี้โยคีจะ ต้องเล่า ไม่ใช่มาบอกว่าทาไม่ได้ ทาไม่ทัน ดูไม่ทัน เดี๋ยวหลุด ๆ อันนั้นคือ การบ่น ไม่ใช่การเล่า เวลาเล่าสภาวะ ทาแล้วเป็นอย่างไร ดีอย่างไร มาเล่า ใหฟ้ งั มปี ญั หาตรงไหนเรากจ็ ะแกไ้ ป เอะ๊ ! ทา ไมมนั ไมท่ นั มนั หลดุ อยา่ งนี้ ทาอย่างไร... ตรงนี้จะได้ไม่ต้องกังวล แก้ปัญหาในตัว อันนี้คือพูดถึง อาการที่เกิดขึ้น
ทนี อี้ กี เหตผุ ลหนงึ่ ทเี่ ปน็ เรอื่ งสา คญั และเปน็ ผลทจี่ ะเกดิ ขน้ึ กค็ อื วา่ ถ้าเราเห็นต้นจิตของตัวเองแบบนี้บ่อย ๆ จะรู้ทันกิเลสของตัวเอง ความ อยาก ความชอบ ความไม่ชอบ ความเกลียด ความกลัว ความปรุงแต่ง































































































   28   29   30   31   32