Page 9 - ต้นจิตและอริยาบทย่อย
P. 9

พอถึงอิริยาบถย่อย ตอนที่เราลุกแล้วเดินออกไปน่ีแหละเป็นอิริยาบถย่อย เรียบร้อยแล้ว เพราะเราไม่ได้เดินจงกรม จึงจัดเป็นอิริยาบถย่อย การที่จะขยับหันซ้ายหันขวา ก็จัดเป็นอาการของอิริยาบถย่อย แต่ถ้ามี บรรยากาศของความวา่ ง ความโลง่ ความเบารองรบั ทา ความเขา้ ใจนดิ หนงึ่ บรรยากาศตรงนี้ต้องเข้าใจว่าเป็นบรรยากาศของความรู้สึกที่โล่ง ที่เบา หรือที่สงบ ความรู้สึกที่โล่ง ที่เบา ที่สงบอันนี้ ก็คือจิต สภาพจิตนั่นเอง เพราะฉะนั้น ความรู้สึกที่โล่ง ที่เบา ที่สงบ เขากว้างเป็นบรรยากาศ ก็กลายเป็น บรรยากาศของสภาพจิตไปในตัว จะเรียกเป็นบรรยากาศของความรู้สึก... ก็ใช่ สภาพจิตกว้างจนเป็นบรรยากาศ ก็เรียกว่าบรรยากาศของสภาพจิต ใครจะเรียกเป็นบรรยากาศของความรู้สึกก็ได้
อย่าเพิ่งงง! ถ้าเราแยกความรู้สึกกับสภาพจิต...จะงงเอง พอไปดู สภาพจิต...สภาพจิตนิ่ง ๆ แต่พอไปดูความรู้สึก...โล่ง เบา เคยไหม ? น่า จะเคย คนุ้ ๆ โยคจี ะสง่ อารมณแ์ บบนี้ กลายเปน็ วา่ สภาพจติ กบั บรรยากาศ ของความรู้สึกเป็นคนละส่วนกัน จริง ๆ แล้ว สภาพจิตกับความรู้สึกควร จะมีลักษณะแบบเดียวกัน ถ้าความรู้สึกสงบ...จิตก็สงบ ความรู้สึกเบา... จติ กเ็บาความรสู้ กึ มนั่ คง...จติ กต็ อ้ งมนั่ คงตรงนคี้ อื รสู้ กึ ไปทนั ทีตรงนเี้ปน็ อันเดียวกัน ไม่ต้องแยก ลองดูนะ ถ้าไม่แยก จิตใจรู้สึกเป็นอย่างไร... ดูที่ความรู้สึกที่สงบที่มั่นคงแล้วให้กว้างออกไป พอกว้างกว่าตัวปุ๊บ รู้สึกว่า รอบ ๆ ตัวเขามีความสงบด้วยไหม มีความเบามากขึ้นไหม ? รู้สึกแบบนี้ ไปเลย เราก็จะเดินอยู่ในบรรยากาศของความรู้สึกที่สงบ ที่เบา หรือที่ใส อันนี้ ทีนี้ทาไมเวลาโยคีเล่าสภาวะไป อาจารย์มักจะถาม สภาพจิตเป็น อย่างไร นั่นเพราะโยคีเล่าไม่ชัด จึงต้องถาม ใช้คานี้แล้วยังไม่ตรง ก็ต้อง ใช้คาอีกคาหนึ่ง พอถามปุ๊บ อ่อ! จิตรู้สึกสงบ รู้สึกใส รู้สึกมั่นคง อันนี้
3
































































































   7   8   9   10   11