Page 99 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง
P. 99

95
อยู่ ๆ ปวดขึ้นมาใหม่เรื่อย ๆ อันนี้คืออย่างหนึ่ง กับอีกอย่างหนึ่งก็คือว่า เห็นทั้งเกิดขึ้นตั้งอยู่แล้วก็ดับไป เกิดขึ้นตั้งอยู่แล้วก็ดับไปตามกาลังของสติของเรา ไม่ใช่เกิดตามใจเวทนานะ ไม่ใช่ว่าอ๋อ!เวทนาเขาอยากให้ เราเห็นแบบนี้ เราก็เลยเห็นแบบนี้...ไม่ใช่ เวทนาทาหน้าที่ของตนตามปกติ หน้าที่ของขันธ์ เขาเรียกเวทนา ขันธ์
เพราะฉะนนั้ คา วา่ เวทนานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน คอื ตามกา หนดรอู้ าการของเวทนาวา่ เปน็ ไปในลกั ษณะ อยา่ งไร เวทนาทเี่ กดิ ขนึ้ นอกจากรอู้ าการเปลยี่ นแปลงการเกดิ ดบั ของเวทนาแลว้ นี่ สงิ่ หนงึ่ ทเี่ ราพงึ พจิ ารณา เวทนา นอกจากไม่เที่ยงแล้วเป็นอะไร นอกจากไม่เที่ยงแล้วเป็นทุกข์ แยก ๒ อย่าง เหมือนกับอาการทาง กายเมื่อกี้นี้ หนึ่ง...ทุกขเวทนาทางกาย มีความปวดอาการเมื่อยอาการชาอาการคัน กับ สอง...ทุกขลักษณะ ข อ ง ท กุ ข เ ว ท น า ค อื เ ก ดิ ข นึ ้ แ ล ว้ ต อ้ ง ด บั ไ ม เ่ ท ยี ่ ง เ ป น็ ท กุ ข ์ ค อื ท กุ ข ล กั ษ ณ ะ เ ก ดิ ข นึ ้ แ ล ว้ ต อ้ ง ด บั เ ก ดิ . . . เ ก ดิ แ ล ว้ ดับไป มีแล้วหมดไปตั้งอยู่อย่างนั้นไม่ได้ ไม่ได้ปวดตลอดเวลา ไม่ได้เป็นอยู่ตลอดเวลา และมีการเกิดดับ ที่แตกต่างไป ตรงนี้แหละที่เราจะพึงพิจารณา
การกา หนดรถู้ งึ ทกุ ขลกั ษณะ เราจะไมต่ อ้ งรบั ทกุ ขเวทนามาก และการทจี่ ะหลดุ พน้ จากทกุ ขเ์ วทนา ทางกายหรือทางจิตได้ ก็ต้องรู้อาศัยการกาหนดรู้อาการของทุกขลักษณะ พอเห็นอย่างนี้ปุ๊บ เราเห็นความ เป็นอนัตตา จิตไม่เข้าไปยึดไม่เข้าไปเกี่ยว ไม่มีอุปาทานไม่ยึดว่าเป็นของเรา จิตกับเวทนาแยกกัน จิตมี ความผ่องใสมีความเบิกบาน เวทนาเกิดดับไป เวทนาทางกายเกิดดับไป นี่คือการกาหนดรู้ เพราะฉะนั้น การกาหนดรู้เวทนา เรากาหนดรู้ถึงกฎไตรลักษณ์แบบเดียวกันกับอาการทางกาย แบบเดียวกันกับอาการ ทางกาย
อาจารย์จะพูดเร็วนิดหนึ่งนะ ทีนี้อีกอย่างหนึ่งก็คือเวทนาทางจิตของเรา ส่วนใหญ่เวทนาแบบไหน ที่เราสัมผัสได้ชัดเร็ว รู้สึกได้เร็ว เวลาเป็นทุกข์จะชัดเจนใช่ไหม จะรู้สึกแบบประทับใจมาก กับเวลาเป็นสุข อิ่มใจสบายใจเกิดปีติขึ้นมา เวลาทาอะไรดี ๆ เกิดมีปีติขึ้นมา มีความสุขขึ้นมา เราจะประทับใจจาได้ระลึก ถึงได้ แต่ส่วนใหญ่ระลึกได้น้อย เรื่องปีติเกิดขึ้นน้อย แต่ความทุกข์เกิดขึ้นบ่อย เดี๋ยวก็มา ๆ ทุกข์เกิดขึ้น เขาเรียกเป็นทุกขเวทนา อันนั้นเป็นทุกขเวทนาทางจิต เวทนาทางจิต แต่ที่สาคัญที่มีอยู่บ่อยมากที่สุด และ เรามองข้าม คือความรู้สึกว่าง ๆ สบาย ๆ หรือที่เรียกว่าอุเบกขา
ความรสู้ กึ เฉย ๆ นนี่ ะ เรามองขา้ มความรสู้ กึ ไมท่ กุ ข์ คอื ความไมท่ กุ ขแ์ ลว้ กไ็ มถ่ งึ กบั สขุ มากนะ อยู่ กับชีวิตประจาวัน บางทีอยู่ตลอดทั้งวันเรามองไม่เห็นเวทนาทางจิตอันนี้ เราคอยจะเห็นแต่เดี๋ยวทุกข์หรือ สุขแค่นั้นเอง แต่ความรู้สึกเขาเรียกว่าอุเบกขาเวทนาที่เป็นกลาง ๆ หรือสบาย ๆ ตรงนี้ เราจะมองข้ามไป เพราะเป็นเรื่องปกติของชีวิต เพราะเรารู้สึกว่าเป็นเรื่องปกติเหมือนไม่สาคัญ
แต่การเจริญกรรมฐานที่บอกเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน นอกจากการกาหนดรู้เวทนาทางกายแล้ว เวทนาทางจิตตรงนี้จะปรากฏตรงไหน เวลาเราเจริญกรรมฐานไปเรื่อย ๆ ที่เราปฏิบัติไปไม่ว่าจะเป็นการ กาหนดลมหายใจ กาหนดอาการพองยุบ อาการเต้นของหัวใจ พออาการเหล่านั้นสิ้นสุดลง จิตใจรู้สึกเป็น อย่างไร รู้สึกว่าง รู้สึกเบา รู้สึกโล่ง รู้สึกโปร่ง รู้สึกสงบ รู้สึกสุข รู้สึกสบาย อันนั้นคือลักษณะของเวทนาที่


































































































   97   98   99   100   101