Page 15 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การปรับอินทรีย์
P. 15

267
สามารถนามาใช้กับชีวิตประจาวันของเราได้ ที่บอกว่าการพิจารณาเวทนา - ทุกครั้งที่มีเวทนาเกิดขึ้น ตาม หลักของการเจริญกรรมฐาน ขอให้เรามีเจตนาเข้าไปรู้ “อาการเกิดดับ” ของเวทนาเป็นหลัก
ทีนี้ นอกจากเห็นอาการเกิดดับของเวทนา ที่บอกว่าจะเกิดอาการเกิดดับเป็นขณะ เป็นกระจาย หรือเป็นจุดเล็ก ๆ ก็ตาม สิ่งที่ควรพิจารณาเพิ่มเติมขึ้นก็คือว่า ตัวจิตที่ทาหน้าที่เข้าไปรู้อาการเกิดดับ ของเวทนานี่เวลาเวทนามีอาการเกิดดับ จิตที่ทาหน้าที่รู้ดับไปด้วยหรือไม่ สมมติว่า เวทนาเขามีอาการเกิด ดับเป็นขณะ วึบ ๆ ๆ ๆ จิตเข้าไปเกาะติดกับอาการเกิดดับของเวทนาที่วึบ ๆ ๆ แต่ละขณะ ทุกครั้งที่วึบ หมดไป จิตที่เกาะติดกับอาการเกิดดับของเวทนาเขาดับไปด้วยหรือไม่ ? คาว่า “เกาะติด” คือการกาหนด ได้ปัจจุบัน ไม่ใช่ไปยึด
ความหมายของคา วา่ “เกาะตดิ ” ไมใ่ ชย่ ดึ อาการของเวทนาไว้ แต่ “เขา้ ใหถ้ งึ ” อาการเกดิ ดบั ของเวทนา เพราะฉะนั้น จึงให้สังเกตว่า เวลาเวทนาดับ จิตที่ไปเกาะดับด้วยหรือไม่ ? ถ้าดับแล้วจะไปเกาะได้ไหม ? พอดับ ก็เข้าไปใหม่ ขณะต่อไป ขณะต่อไป ขณะต่อไป... แต่ละขณะจิตดับไปด้วยหรือไม่ ? คาถามว่า ถ้า จิตดับแล้ว จิตดวงไหนไปเกาะใหม่ ? จิตดวงนี้ไปเกาะอาการ เวทนาดับ - จิตดับ แล้วจิตดวงไหนไปเกาะ อาการใหม่หรือเวทนาใหม่ ? ก็เป็นจิตดวงใหม่นั่นเอง! เพราะวิถีจิตเขาดับแล้วเขาเกิดใหม่ ทาหน้าที่รับรู้ ใหม่ต่อไปทันที เพราะฉะนั้น เวลามีเวทนาเกิดขึ้นขณะที่ปฏิบัติธรรม ขอให้มีเจตนาที่จะรู้อาการเกิดดับ ของเวทนาแบบนี้
ทีนี้ อีกจุดหนึ่งในการกาหนดเวทนา จุดที่ต้องสังเกตก็คือว่าอาการเกิดดับของเวทนาที่เกิดขึ้น เขา “เกดิ ดบั อยกู่ บั ท”ี่ หรอื “เคลอื่ นยา้ ยท”ี่ เปลยี่ นตา แหนง่ ไปเรอื่ ย ๆ การทกี่ า หนดรถู้ งึ ความแตกตา่ งตรงนเี้ ปน็ ต วั บ อ ก ถ งึ ล กั ษ ณ ะ ข อ ง ป ญั ญ า ห ร อื ว า่ ส ภ า ว ญ า ณ ท เี ่ ป ล ยี ่ น ไ ป ต า่ ง ไ ป เ พ ร า ะ เ ว ท น า ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้ ไ ม ไ่ ด ห้ ม า ย ค ว า ม ว า่ เกดิ ทหี่ วั เขา่ อยตู่ ลอดเวลาอยา่ งเดยี ว บางครงั้ เกดิ ตรงนดี้ บั ตรงนี้ บางครงั้ กเ็ กดิ ตรงนดี้ บั ตรงนี้ แลว้ กเ็ ปลยี่ น ตาแหน่ง แป๊บ แป๊บ แป๊บ... ไปเรื่อย ๆ อันนี้ก็คือความแตกต่างของเวทนา สภาวธรรมเหล่านี้นี่แหละ เขา เรียกว่าเวทนาเป็นของไม่เที่ยง
นอกจากลักษณะของเวทนาที่เป็นกลุ่มก้อนแล้ว ก็มีเวทนาที่เป็นจุด เวทนาที่เป็นเส้น หรือ ลักษณะ อาการคัน ๆ หรือเหมือนเข็มที่จิ้มทิ่มแทง หรือเหมือนยุงกัดมดกัด นี่คือลักษณะของเวทนาที่เปลี่ยนไป ความไม่เที่ยง ความแตกต่างของเวทนา ซึ่งอาการเหล่านี้อยู่คนละขั้นตอนของสภาวญาณที่เกิดขึ้น อยู่ที่ ความแก่กล้าของสติของเรา สติ-สมาธิ-ปัญญายิ่งแก่กล้า ลักษณะอาการเกิดดับของเวทนานี้ก็ต่างไป กับ การเหน็ เวทนาแกก่ ลา้ แลว้ เกดิ อยกู่ บั ที่ กบั เหน็ วา่ เดยี๋ วแปลบ๊ ตรงนนั้ เดยี๋ วแปลบ๊ ตรงนี้ เขามคี วามตา่ งระดบั กันของสติ สมาธิ และปัญญาของเรา
เพราะฉะนนั้ สงั เกตดวู า่ เมอื่ ไหรก่ ต็ ามทเี่ ราสนใจลกั ษณะอาการเกดิ ดบั ของเวทนา เราจะตดั อาการ ปรุงแต่ง “ปรุงแต่ง” คือ การคิดไปต่าง ๆ นานา บางคนพอมีเวทนาเกิดขึ้น แทนที่จะพิจารณากาหนดรู้ถึง อาการเกิดดับของเวทนารู้อาการพระไตรลกัษณ์ของเวทนาจิตก็คิดประหวัดไปถึงว่าในอดีตเคยทากรรม อะไรเอาไว้ ไปทาร้ายสัตว์หรือทาอะไรเอาไว้ แล้วผลของวิบากนั้นส่งผลให้เวลานั่งกรรมฐานแล้วมีอาการ


































































































   13   14   15   16   17