Page 27 - มิติธรรม
P. 27

21
ของความรูสึก จะเห็นอาการเกิด - ดับของอารมณ ระหวางดับ - เกิด คือชองวางของกรรมเกา - กรรมใหม ทุกครั้งที่เห็นอาการดับ - เกิด จิตจะผองใส นั่นแสดงวาการตัดกรรมไดเริ่มตนขึ้นแลวโดยอัตโนมัติ และเม่ือไดทําอยางตอเนื่อง กรรมเกาจะถูกตัดอยางตอเน่ืองเชนกัน กรรมเกายิ่งนอยบรรยากาศยิ่งผองใส
๖. เกรด็ ความรู
เกร็ดความรู ๑
๑. วิธีเลาสภาวะ ใหเลาจากความรูสึกที่เปนจริงไมควรปรุงแตง เพราะการปรุงแตงจะเปนอุปสรรคตอ มรรค ผล นิพพาน
๒. เมื่อปญญามีกําลังแกกลาขึ้น สติจะอยูที่เดียวกับอาการและ สามารถดูหรือฟงรูเรื่องได โดยไมตองออกหางจากอารมณ
๓. ความวางไมสามารถแสดงอาการพระไตรลักษณได แตที่รูสึก ถึงอาการวูบ ๆ วาบ ๆ ในความวางนั้น เกิดจากเห็นอาการสลายของ รูปนาม
๔. เมื่อมีอารมณจรเขามา ใหกําหนดอารมณจรจนกวาจะหมด แลวจึงกลับมากําหนดอารมณหลัก
๕. ชองวางระหวางจิตที่ออนกําลัง กิเลสเกิดงาย ยิ่งมีชองวางมาก เทาไร? กิเลสยิ่งเกิดมากเทานั้น
๖. เห็นชองวางอยูระหวางจิตที่ประกอบดวยสติ เรียกวาปญญา ๗. การเลาสภาวะ ไมวาขั้นตอนไหนก็ตาม จะตองเลาอาการ
พระไตรลักษณใหไดมากที่สุด


































































































   25   26   27   28   29