Page 28 - มิติธรรม
P. 28

22
๘. ความคิดจัดเปนปรมัตถ มโนภาพที่เกิดพรอมความคิด จัดเปน บัญญัติ
๙. รสชาติของเวทนาและอาการเกิดดับของเวทนา อยูที่เดียวกันแต รูคนละขณะ
๑๐. ทุกครั้งที่มีความคิดเขาแทรก จะตองกําหนดความคิดใหหมด ไปกอน
๑๑. จิตที่ไวตอกุศลจะไมไวตออกุศล
๑๒. ขณะปฏิบัติไมวาจะมีสภาวะใดปรากฏขึ้นก็ตาม ไมตองไปสาวหา
เหตุที่มาที่ไป ใหมีสติรูทันขณะแรกของอารมณปจจุบันเทานั้น
๑๓. เมื่อใจรูอยูที่ไหน สติจะตองอยูที่นั่น อาการรูชัดในรูจะปรากฏ
ขึ้นมาทันที
๑๔. จิตคับแคบ ปญญาเกิดยาก
๑๕. จิตคับแคบ จะเกิดพรอมกับความมีตัวตนเสมอ
๑๖. ปญญาญาณจะเกิดไดงาย ตองอาศัยบรรยากาศรูกวาง ไมมีตัวตน
๑๗. แยกรูปนามไดครั้งแรก รูปมีสภาพคลายหุนมีความหนาทึบ ชัดเจน เมื่อสติมีกําลังมากขึ้นความหนาทึบจะคอย ๆ นอยลง พรอมกับ ความชัดเจนก็เริ่มจางลง เหลือแตรูปที่โปรงวาง คลายไมมีรูปมีแตนาม
๑๘. เมื่อสติมีกําลังมากข้ึนรูปละเอียดจะคอย ๆ ปรากฏ ทุกครั้งที่ ปรากฏขึ้นมาใหม ความละเอียดความใสสะอาดจะเพิ่มมากขึ้น
เมื่อเขาถึงความสิ้นสุดแหงกองทุกข รูปจะกลับคืนสูสภาพเดิม เปนรูปที่วางเปลาสะอาดหมดจด ไมมีความรูสึกใด ๆ อยางชัดเจน
๑๙. ทุกครั้งที่เกิดความรูสึกสับสน ไมแนใจวาปฏิบัติถูกหรือผิด ใหเอาสติไปที่ความรูสึกสับสนนั้น อาการสับสนที่เกิดขึ้นจะหายไป เมื่ออาการสับสนหายไป ใหเอาสติไปดูอาการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นตอไป


































































































   26   27   28   29   30