Page 29 - มิติธรรม
P. 29

๒๐. ความพอใจที่ประกอบดวยตัวตน โลภะจิตเกิด
๒๑. ความพอใจที่ไมประกอบดวยตัวตน โลกุตตระสติเกิด
๒๒. ความคิดจัดเปนนาม มโนภาพที่เกิดขึ้นจัดเปนรูป
๒๓. ความบรรจงของจิต เปนบอเกิดแหงความออนโยนและ กุศลธรรมตาง ๆ
๒๔. อารมณบัญญัติ เปนอารมณที่อยูใกลกิเลส
๒๕. อารมณปรมัตถ เปนอารมณที่อยูไกลจากกิเลส
๒๖. ไมควรตั้งจิตขณะที่เกิดโทสะ เพราะจะทําใหชีวิตในชาตินี้และ
ชาติตอ ๆ ไปตกต่ํา
๒๗. ควรตั้งจิตขณะที่จิตเปนกุศล เพราะจะทําใหชีวิตในชาตินี้และ
ชาติตอไปเจริญรุงเรือง
๒๘. ปุถุชนผูมีศีลยอมงดเวนจากบาป เพราะกลัวการถูกติเตียน
กลัวตกนรก กลัวจะตองไปเกิดเปนสัตวเดรัจฉาน เปรต อสุรกาย กลัว การ เวียน วาย ตาย เกิด และกลัวภัยตาง ๆ
๒๙. พระโสดาบัน สกทาคามี อนาคามีถึงแมจะพนจากภัย นรก เดรัจฉาน เปรต อสุรกายแลว แตยังกลัวภัยที่เหลือจึงไมกระทําบาป
๓๐. พระอรหันตไมกระทําบาปทั้งปวง ไมไดเกิดจากความกลัวใด ๆ ทั้งสิ้น เพราะสามารถตัดภัยตาง ๆ ไดอยางเด็ดขาดแลว
๓๑. ตาทิพยจะไมปรากฏแกผูมีอภิญญาจิต ที่มีดวงตาพิการทั้งสอง ขางโดยกําเนิด
๓๒. จิตที่แข็งกราวหรือออนไหว เกิดจากอุปาทาน
๓๓. ความอดทน อดกลั้น จัดเปนกุศล
๓๔. ความสํารวมหมายถึง ใหมีสติรูทันอารมณปจจุบัน ไมใหตก
อยูในอํานาจของความอยากไดหรือขัดเคือง
23


































































































   27   28   29   30   31