Page 31 - มิติธรรม
P. 31

25
๔๘. ปญญาทางโลกยิ่งรูบัญญัติมากยิ่งฉลาด ฉลาดในการยึดมั่นถือมั่น ๔๙. ปญญาทางธรรมยิ่งรูปรมัตถมากยิ่งฉลาด ฉลาดในการปลอยวาง ๕๐. จิตเปนผูคิด ผูปรุงแตง และจิตก็เปนผูรับทุกขหรือสุขนั้น ๕๑. อริยบุคคลไดชื่อวาเที่ยงตอ มรรค ผล นิพพาน
๕๒. คนที่ไมมีความอดทนมักหลงลืมงาย
๕๓. ความเพียรท่ีเกิดข้ึนคร้ังแรก เปนเหตุของความเพียรในภายหลัง ๕๔. คําวาปจจุบันในการเจริญสตินั้น หมายถึงขณะแรกของอารมณ ๕๕. ปญญาทางธรรมยังหมายถึงการแยกแยะผิด ถูกได
๕๖. ความถึงพรอมของการทําบุญทั้งขณะ ๓ นั้น เปนกําลังของ การเจริญวิปสสนา เพราะนึกถึงเมื่อไร ปติ สุข ก็เกิดเม่ือนั้น ปติ สุข เปนบอเกิดแหงสติปญญา
๕๗. ความสวยงามของจิตไมไดหมายถึงสีสัน แตหมายถึงความ บริสุทธิ์
เกร็ดความรู ๒
๑. วางอยางบริสุทธิ์จะตองเปนความวางที่ไมมีตัวตน และรูไดเดี๋ยวนั้น ๒. ขณะเจริญสติใหมีตัวสังเกตประกอบดวยเสมอ
๓. สติที่ไดปจจุบันจะตองเขาไปอยูในอาการ เปนตนวา ขณะเห็น
ความรูสึกเห็น จะตองอยูในรูป ใหความรูสึกวา รูปนามอยูที่เดียวกัน ๔. จิตของผูสิ้นอาสวะกิเลส อาการรับรูทางทวารทั้ง ๖ จะมี สภาพ บาง เบา ละเอียด ตั้งอยูในความวาง ใส สะอาด ไมมีตัวตน
อายุของอารมณสั้นมาก
๕. การทวนกระแส หมายถึง ไมใหจิตไหลไปตามอารมณของ
กิเลส ทุกครั้งที่มีกิเลสเกิดขึ้น จะตองมีสติเขาประกอบ จิตจะหยุด ปรุงแตง เรียกวาทวนกระแส


































































































   29   30   31   32   33