Page 32 - มิติธรรม
P. 32

26
๖. เมื่อจิตมีกิเลส แลวมีการปรุงแตงคลอยตามอารมณของ กิเลสนั้น เรียกวา ไหลตามกระแส
๗. ไมควรเลือกเวลาปฏิบัติ เพราะจะทําใหเกิดความเคยชิน ทุก ๆ ขณะจิตสามารถเจริญสติได
๘. ขณะที่ไดยินเสียง มีความรูสึกเหมือนแกวใส ๆ ครอบ หรือ รองรับเสียงนั้นอยู เกิดจากความผองใสของจิต สติดีมีกําลัง
๙. ถาสติมีอาการเนนไปที่อาการ แสดงวาสติดีกําหนดไดปจจุบัน ๑๐. เห็นการทํางานของรูปนามเหมือนเครื่องจักร เมื่อทําหนาที่เสร็จ เครื่องจักรก็หยุด ทุกอยางตองอิงอาศัยกันอยางเปนระเบียบ ไมกาวกาย
กัน เมื่อเหตุดับผลก็ดับ เปนการเห็นอาการพระไตรลักษณอยางชัดเจน ๑๑. ขณะปฏิบัติถาหากมีอาการคลอยตามอารมณ เชน เมื่อ พองยุบ ปรากฏขึ้น กายมีอาการโยกไหวตามพองยุบ หรือขณะตาม ลมหายใจเขาออก กายมีอาการยืดหดตามลมหายใจเขาออก วิธีแก อารมณประเภทนี้ ใหใชวิธี จิตสั่งจิต เมื่อสั่งใหหยุดอาการตาง ๆ จะหยุดทันที เหลือแตอาการพองยุบ หรือลมหายใจเขาออกเทานั้น ถายังไมหายแสดงวาสติออนมาก เพราะอาการที่เกิดขึ้นนั้น เกิดจาก
อุปาทานไมใชสภาวะ เมื่อรูสึกตัวจะตองหายทันที
๑๒. เมื่อปญญาเขาถึง ๓ ขณะ แตละอาการจะมีสติรูชัด ถาเปน
เวทนาจะชัดเจนและทนยาก ใหสนใจอาการพระไตรลักษณในเวทนา จะเห็นวาเวทนานั้นมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไมเที่ยง บังคับไมได ไมมีเจาของอยางชัดเจน
๑๓. กําหนดเห็นอาการพระไตรลักษณจัดเปนวิปสสนา ใน การกําหนดแตละครั้งตองอาศัยกําลังสมาธิ เพราะฉะนั้นวิปสสนา กับสมถะจึงตองอาศัยกัน


































































































   30   31   32   33   34