Page 34 - มิติธรรม
P. 34
28
๒๘. ขณะปฏิบัติไมตองกังวลวาสภาวะที่ปรากฏขึ้นนั้นดีหรือไม เพราะจะทําใหจิตวอกแวก ใหมีสติตามรูการเปลี่ยนแปลงของอาการ เทานั้น
๒๙. เบื่อที่ไมประกอบดวยกิเลส จะตองไมมีตัวตน ตั้งอยูในความเงียบ ๓๐. การปฏิบัติจะกาวหนาหรือไม ใหสังเกตจากสภาพจิต
๓๑. สติไมมีคําวามากเกิน สติยิ่งมาก รูปยิ่งละเอียด จิตยิ่งผองใส
๓๒. วิถีสุขที่เกิดตอจากวิถีออนโยน เปนสุขที่ละเอียดออน
๓๓. ความสับสน เกิดเพราะวิถีจิตขาดความเปนระเบียบ
๓๔. ความเปนระเบียบของจิต จะตองรูตั้งแตตนจนจบของแตละวิถี ๓๕. จิตที่เงียบสงบแตขาดกําลัง จะตองเติมตัวตื่นตัวลงไป จิตจะ
คอย ๆ มีกําลังขึ้นมา
๓๖. สภาพจิตของผูที่เขาถึงนิพพานครั้งแรก เปรียบเหมือนคนตาดี
ที่เดินไปในความมืด แลวปรากฏแสงฟาแลบขึ้นมาชั่วขณะหนึ่ง
๓๗. นิพพานครั้งที่ ๒ แสงสวางที่ปรากฏชั่วขณะหนึ่งนั้นมีกําลัง
มากขึ้น
๓๘. นิพพานครั้งที่ ๓ แสงสวางที่มีกําลังนั้นชัดเจนขึ้น
๓๙. นิพพานครั้งที่ ๔ แสงสวางที่เกิดขึ้น เปรียบเหมือนแสงฟาผา
ที่ตั้งอยูตลอดไป
๔๐. ความอภิรมยยินดีในธรรมไดแก การเจริญสมถะและวิปสสนา
ซึ่งมีแตกอใหเกิดปติ ความอิ่มใจในธรรม และสามารถทําใหสิ้นสุดกอง ทุกขทั้งปวง จึงประเสริฐ ยิ่งกวาความอภิรมยอื่นใด
๔๑. นิโรธสมาบัตินั้นไมมีสัญญา เวทนาและลมหายใจ เมื่อจะ เขานิโรธจึงตองดับสัญญากอน เมื่อดับสัญญาเวทนาและลมหายใจ ก็ดับดวย เปนอันวา ไดเสวยอารมณนิพพานขณะที่ยังมีชีวิตอยู