Page 33 - มิติธรรม
P. 33

27
๑๔. วิปสสนากรรมฐานตองมีรูปนามขันธ ๕ เปนอารมณ เพราะ รูปนามขันธ ๕ ซึ่งเปนปรมัตถสภาวะนั้น มีพระไตรลักษณปรากฏ อยูและผูที่เขาถึงอาการพระไตรลักษณจะตองมีปญญาอันแหลมคม
๑๕. ความวางกับใจรูเปนอันเดียวกัน สติจะมีกําลังมากเปนพิเศษ
๑๖. สภาพกายทิพยของผูมีคุณธรรม มีแตความกวาง ความสูง ไมมีความหนา กายทิพยปรากฏขึ้นที่ไหน บรรยากาศที่นั่นจะใส สะอาด และเต็มไปดวยพลัง
๑๗. ปลีกวิเวกหมายถึง ใหจิตเขาถึงความสงบ แลวยกจิตขึ้นสู วิปสสนา
๑๘. เมื่อแยกรูปนามออกจากกัน ความวิเวกจะเกิดขึ้นทันที
๑๙. ความวุนวายเกิดเพราะมีตัวตน
๒๐. ขณะเจริญสติไดปจจุบัน อนุสัยกิเลสยอมถูกทําลาย กิเลส
ที่มีอยูในใจจะเบาบางลงเรื่อย ๆ
๒๑. มีสติปญญาเกิด ขาดสติกิเลสเกิด
๒๒. มีปญญาแสงสวางเกิด ปญญายิ่งมากจิตย่ิงผองใส
๒๓. สภาวะตาง ๆ ที่ปรากฏขึ้น จะคอย ๆ ปรับปรุงรางกายและ จิตใจของนักปฏิบัติ ใหดีขึ้นโดยลําดับ
๒๔. ความเบื่อที่เกิดจากญาณหรือปญญา จะเกิดอยูในใจอยาง เงียบ ๆ ไมถึงกับแสดงออก
๒๕. เพราะการแสดงออกจัดเปนอกุศล ไมใชปญญา
๒๖. กอนลงมือปฏิบัติ จะตองสรางความพอใจตอทุก ๆ สภาพ หรือทุกอาการที่เกิดขึ้น สมาธิจะคอย ๆ เพิ่มขึ้น
๒๗. มัจจุราชไมเห็นนั้น หมายถึงพนจากการเกิดแกเจ็บและตาย คือนิพพานนั่นเอง


































































































   31   32   33   34   35