Page 62 - มิติธรรม
P. 62

56
๓๓. สามัญสติมีลักษณะคอยเตือน คอยบอก หรือจํา
๓๔. สามัญสติเตือนใหรูจักแยกแยะความเปนกุศล ความเปนอกุศล ๓๕. สามัญสติเตือนใหรูจักแยกแยะวาส่ิงไหนดี สิ่งไหนไมดี
๓๖. สามัญสติเตือนใหรูจักแยกแยะวาสิ่งไหนมีโทษ สิ่งไหนไมมีโทษ
๓๗. สามัญสติเตือนใหรูจักแยกแยะวาสิ่งไหนควรทํา สิ่งไหนไมควรทํา
๓๘. สามัญสติเตือนใหรูจักแยกแยะวา ส่ิงไหนคือธรรม สิ่งไหนคือ อธรรม
๓๙. สามัญสติเตือนใหรูจักแยกแยะวา ส่ิงไหนควรเก่ียวของ สิ่งไหนไมควรเกี่ยวของ
๔๐. ขณะเจริญโลกุตตรสติจะเห็นอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
๔๑. ในทุก ๆ อิริยาบถหรือในทุก ๆ อาการ ตองอยูในสายตาของ ความรูสึกตลอดเวลา มีสติรูสิ่งไหนสิ่งน้ันจะชัดเจน สิ่งอื่นจะเลือนหาย ไป
๔๒. อาการของโรคภัยไขเจ็บตาง ๆ ถามีสติเขาถึงความเปนปรมัตถ จัดเปนญาณทั้งหมด
เกร็ดความรู ๑๐
๑. อารมณปรากฏชัด หมายถึง อารมณที่เดนขึ้นมา ไมใชไป จองใหชัด
๒. ขณะจองเพื่อจะใหอารมณปรากฏชัดขึ้นมานั้น เกิดจากการ ยึดติดโดยไมรูตัว
๓. ความเดนของอารมณนั้น ไมจําเปนตองเห็นขณะใหญ เห็น เปนขณะเล็กก็ได
๔. สมถะไมมีชีวิตเล็ก หรือ ขันธ ๕ ขณะเล็ก ๕. วิปสสนา มีชีวิตเล็ก หรือ ขันธ ๕ ขณะเล็ก


































































































   60   61   62   63   64