Page 61 - มิติธรรม
P. 61

55
๑๙. เมื่อสติมีกําลังมากขึ้น ผูดูหมายถึงความรูสึกจะชัดเจนขึ้น ใหความรูสึกเหมือนคนหนึ่งกําลังดูอีกคนหนึ่งอยู คนดูคือความรูสึกหรือ นาม คนที่ถูกดูคือรูป
๒๐. ใหมีสติเกาะติดอยูกับอาการตาง ๆ อาการตาง ๆ จัดเปน อารมณหลัก เมื่ออารมณนั้นหมดไปใหกลับมารับรูที่อิริยาบถใหญ ไดแก อาการยืน เดิน นั่งและนอน
๒๑. ขณะที่มีอาการเคลื่อนไหว ใหมีสติเกาะติดอยูกับอาการ เคลื่อนไหว เมื่ออาการเคลื่อนไหวหมดไปใหกลับมารับรูที่อิริยาบถใหญ ๒๒. เมื่อไดยิน เห็น ฟง คิด พูด ใหมีสติเกาะติดอยูกับอาการ
เหลานี้ เมื่ออาการเหลานี้หมดไป ใหกลับมารับรูที่อิริยาบถใหญ
๒๓. สําหรับผูที่สรางพลังไดแลว จะตองใหอาการตาง ๆ รวมทั้ง
อิริยาบถใหญ ปรากฏอยูในพลังนั้น
๒๔. คนนั่งตัวตรง จะมีความตื่นตัวมากกวาคนนั่งทิ้งตัว
๒๕. เมื่อตองการพักผอน ใหพักอยูในบรรยากาศพลัง การพักผอน
นั้นสามารถพักไดในทุก ๆ ขณะจิต
๒๖. จับความรูสึกไมเกง จะไมเห็นตนจิต
๒๗. ไดหลักอันไหนไปเวลาเลาสภาวะตองเลาหลักอันนั้นกอน ๒๘. วิธีสรางสมาธิ ใหนอมใจไปที่อารมณ สมาธิจะปรากฏขึ้นมาทันที ๒๙. ความเปนกลุมกอนของรูปแตก จะเห็นชีวิตเล็ก ลักษณะ
ของบัญญัติเปนกลุมกอนเคลื่อนยายที่ได
๓๐. อาการเคลื่อนไหวที่อยูกับท่ีจัดเปนปรมัตถ ๓๑. นิพพานเปนอนัตตาเพราะไมมีรูปนามขันธ ๕
๓๒. ตนจิตเปนผูสั่ง สติเปนผูรูหรือดู เปาหมายชัดเจนตนจิตชัดเจน เปาหมายชัดเจนตัวมุงจะมีกําลัง


































































































   59   60   61   62   63