Page 212 - มรรควิถี
P. 212

198
รับรู ใหกําหนดรู แคสังเกตวาเปนคนละสวน รูถึงความเปนคนละสวน ของรูปนาม ความรูสึกของเรากับอารมณเหลานั้นเปนคนละสวน เห็นอันนี้ ก็เปนคนละสวน ไดยินเสียงก็เห็นวาจิตกับเสียงเปนคนละสวนกัน มอง อะไรก็เห็นวาจิตกับภาพที่เห็นเปนคนละสวนกัน พอมาดูตัวนั่ง ขณะที่ มารูวานั่งก็เห็นวาความรูสึกกับรูปที่นั่งเปนคนละสวนกัน พอมีอาการ เมื่อยอาการปวดเกิดขึ้น เราก็รูชัดถึงอาการปวดอาการเมื่อย รูชัดถึงความ เปนคนละสวน วาจิตกับอาการปวดเมื่อยเปนคนละสวนกัน นี่คือ การพิจารณาอยางนี้ ไมตองรอใหความทุกขเกิดกอน ถาเมื่อไหรรอให ความทุกขเกิดกอน เราจะกําหนดไมทัน เพราะเราไมเคยฝก ทําอะไรก็ เปนจิตของเรา คือตองฝก ฝกใหชํานาญจนเปนวสี ฝกใหเปนวสี เปนภาษา บาลีเขาเรียกวาวสี แตภาษาไทยเขาเรียกวาฝกใหชํานาญนั่นเอง ฝกบอย ๆ จนเกิดความชํานาญ ยกจิตไดเร็ว ดับตัวตนไดเร็ว ดับอารมณไดเร็ว อันนี้ควรใชบอย ๆ จะใชกับชีวิตประจําวันไดดีมาก ๆ ถาเรากําหนดรู อยางนี้
อีกอยางหนึ่งก็คือใหมีบรรยากาศรองรับทุก ๆ กิริยาอาการของเรา ไมวาจะยืนเดินนั่งนอน หรือทําอะไร ทํากิจกรรมตาง ๆ ใหมีความวาง มีความ สงบรองรับ หรือมีความสุขรองรับ การที่จะเห็นชัดอยางนี้ก็คือตองดูที่ความ รูสึก ก็คือดูที่จิตนั่นเอง พอจิตเราวาง เราจะเห็นเลยวาบรรยากาศรอบตัว วางไปดวย พอจิตเราสงบ บรรยากาศรอบตัวก็สงบ จิตเราเปนสุข บรรยากาศ รอบตัวก็สุขไปดวย เพราะฉะนั้นจับจุด สิ่งที่ตองรูก็คือจับที่ความรูสึกหรือ ดูที่จิตนั่นเอง อีกอยางหนึ่งก็คือถาเราดูที่จิตแลวดูในตัวอยางเดียว โดยไม ดูรอบตัว เม่ืออยูในตัวอยางเดียว เราก็จะไมเห็นบรรยากาศขางนอก แต ถาอยูในตัว มองเขาไปในตัว แลวรูถึงความไมมีรูป บรรยากาศก็จะกวาง เราสามารถรูไดถึงบรรยากาศรอบตัวดวยวาเปนอยางไร เพราะฉะน้ันนี่ ฝากเอาไว ลองพิจารณาบอย ๆ พิจารณารูถึงความเปนอนัตตา


































































































   210   211   212   213   214