Page 35 - มรรควิถี
P. 35

จะพิจารณาอยางไร ? ใหเอาความรูสึกที่วางไปแตะถูกความคิดลองดู เรื่องที่คิดหรือวาภาพที่เห็นนั้น พอกระทบถูกจะเปนอยางไร ? ตั้งอยูหรือ หายไป ? กระทบปุบหายไปวางไป ? เขามาแลวก็ดับไป ? เขามาแลวหาย ไป ? นั่นคือความไมเที่ยงของความคิด ใหกําหนดรูอยางนี้ไปเรื่อย ๆ เมื่อเราเห็นลักษณะความไมเที่ยงของความคิด สักพักความคิดก็จะหาย ไปเอง เราจะเห็นวาขณะที่พิจารณาอยางนั้น เมื่อมีความคิดเขามา จิตเราจะเปนคนละสวนกับเรื่องที่คิด จะเห็นวาจิตเราสงบ ความคิดก็สวน ความคิด ความคิดนั้นเกิดแลวตั้งอยูบนความสงบ
เพราะฉะนั้น ความคิดที่เกิดขึ้นจึงไมทําใหจิตวุนวาย นั่นแหละ สังขาร สักแตวาสังขาร จิตก็สงบได การกําหนดอาการเกิดดับของความคิด เราเอา ความคิดมาเปนอารมณกรรมฐาน กําหนดความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตาของความคิด ถาเราปฏิเสธความคิด จิตจะฟุงซาน เพราะอะไรจิต ถึงฟุงซาน ? เพราะมีอุปาทานไปยึดในความคิดนั้นวาเปนตัวเรา เปนของ เรา เราเปนคนคิด แลวบังคับไมอยากใหเกิด นั่นคือตัณหาไดเกิดขึ้นแลว ความอยากที่ไมอยากใหเปน ไมอยากใหมี ไมอยากใหเกิดไดเกิดขึ้นแลว เมื่อมีตัวตน จิตเรา สติเราก็ออน เมื่อสติเราออนความฟุงซานก็เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น การพิจารณาความคิด จะเห็นวาความคิดก็เปนสังขารอยาง หนึ่ง เปนแคสังขารขันธ (ปรุงแตง) สัญญาขันธ (จํา) จิตเรากับสัญญากับ สังขารจึงเปนคนละสวนกัน สัญญา (จํา) ไมเที่ยง สังขาร (ปรุงแตง) ก็ไม เที่ยง นี่คือความหมายของความไมเที่ยง ไมใชเราไมสนใจแลวสังขารนั้น ไมเที่ยง ตองเขาไปรูถึงความไมเที่ยงของสัญญาหรือสังขารอันนั้น นี่คือ การกําหนดรูสภาวะอารมณปจจุบันที่เกิดขึ้นขณะนั้นจริง ๆ
การกําหนดรูอารมณอยางนี้ไดประโยชนอยางไร ? เราลองพิจารณา ดูนะ ขณะที่เรากําหนดในลักษณะอยางนี้ ความรูสึกที่ทําหนาที่กําหนด ใครเปนผูกําหนด ? เราเปนผูกําหนดอาการเกิดดับของความคิด ? หรือวา
21


































































































   33   34   35   36   37