Page 44 - มรรควิถี
P. 44

30
เมื่อธรรมทั้งหลายทั้งปวงเปนอนัตตา สัญญาเราจําแมน เราจะเกิด ความรูสึกวาเมื่ออารมณมากระทบ ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ไมวาอารมณ นั้นจะเปนสิ่งดีหรือไมดี ใหความรูสึกวางรับรูอารมณ อารมณนั้นจะไม สามารถกระทบถึงจิตใจได สภาวธรรมที่เกิดขึ้นนั้นเปนไปตามเหตุตาม ปจจัย เมื่อเปนไปตามเหตุตามปจจัยแลวทําไมถึงทุกข สิ่งที่ทําใหเราทุกข ก็คือตัณหาหรือตัวตน เพราะวาเมื่ออารมณเกิดขึ้นทางทวารทั้ง ๖ ผาน ทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย หรือทางใจก็ตาม ถาไมมีสติ กําหนดรูเทาทัน ก็จะเปนเหตุใหเกิดตัณหามีตัวเราขึ้นมา เกิดการยึดติด คือยึดติดในอารมณนั้นเมื่อรูสึกชอบก็เกิดความอยากไดใครดี เกิดการ บังคับ อยากใหเปนไปดังที่ปรารถนา หรือเกิดการปฏิเสธอารมณนั้นเมื่อ รูสึกไมชอบ คืออยากใหอารมณนั้นหมดเร็ว ๆ หายไปเร็ว ๆ เมื่ออยาก ใหหายไปเร็ว ๆ แตขาดการกําหนดรู เมื่อมีความทุกขเกิดขึ้น ก็ไมอยาก ใหมี ไมอยากใหเปนอยางนั้น น่ันคือตัวตัณหา เมื่ออารมณที่ดีเกิดขึ้น ก็เกิดตัณหาอีก เกิดความอยาก อยากใหตั้งอยูนาน ๆ
สิ่งไหนที่ไมดี ถาไมเสื่อมตามความตองการก็เปนทุกข แตสิ่งไหน ที่รูสึกวาดีเกิดขึ้น ถาเสื่อมเร็วเกินไปก็ทุกข ซึ่งสภาวธรรมเหลานี้ จริง ๆ ก็หนีไมพนความเปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือเกิดขึ้นแลวตองเสื่อม เพียง แตเราไมสามารถบังคับใหเสื่อมเร็ว หรือเสื่อมชาไดเทานั้น สภาวะนั้นจะ ตองเปนไปตามเหตุปจจัย ขณะที่เรากระทบอารมณที่ทําใหเกิดความ ขุนมัวขึ้นมา จะทํายังไง ? เราจะดับอารมณนั้นไดอยางไร ? เราจะไป ปฏิเสธอารมณขางนอกที่มากระทบ ใหหาย ใหจบ ไมสามารถไปบังคับ กะเกณฑได สิ่งที่ทําไดคือ ใหมีสติกําหนดรูเห็นความขุนมัว เศราหมอง เราสามารถดับไดดวยการเอาความรูสึกที่วาง คือสติเขาไปกําหนดรูถึง อาการเปลี่ยนแปลงของความขุนมัว เศราหมองนั้น ถาเรายอความรูสึกให เล็กลง ความขุนมัว ความเศราหมองนั้นก็ดับไปได หรือขยายใหกวาง


































































































   42   43   44   45   46