Page 53 - มรรควิถี
P. 53

แสดงพระธรรมเทศนา เนอื่ งในวนั วสิ าขบชู า พ.ศ.๒๕๔๗
ขอนอบนอมแดองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา พรอมทั้งพระธรรม และพระอริยสงฆ
ขอแสดงความเคารพตอทานแมครูผูประสาทวิชามา ณ โอกาสนี้ดวย ขอความเจริญในธรรมจงมีแกญาติโยมทุก ๆ คน
ขณะที่เรากําหนดอาการเกิดดับ ของอาการเคลื่อนไหวท่ีทอง หายใจ เขาทองพองข้ึน หายใจออกทองยุบลง ส่ิงที่เราควรสังเกตก็คือ พองข้ึน ครั้งหนึ่งพองแลวดับอยางไร ? ยุบลงแลวดับอยางไร ? หรือหายใจเขา คร้ังหนึ่งมีอาการอยางไร ? เกิดดับอยางไร ? เกิดดับแบบเปนเสนแลวก็ หยุดไป ? หรือเกิดดับเปนขณะ ๆ ? นี่คือสิ่งที่เราตองสังเกตตองพิจารณา ถาเราสังเกตอยางน้ี ผลท่ีตามมา ทําใหสมาธิมีมากขึ้น สติดีข้ึน เพราะการ สังเกตอาการเกิดดับ ทําใหการปฏิบัติและสติ อยูกับปจจุบันมากข้ึน เม่ือ อยูกับปจจุบันมากขึ้น จิตเราจะไมฟุงซาน สติมีกําลัง สมาธิก็ดีขึ้น ปญญา ก็เกิดข้ึน ปญญาท่ีเกิดข้ึนนั้น เปนปญญาท่ีรูถึงการเปล่ียนแปลงของอาการ พระไตรลักษณ รูถึงอาการเกิดดับของพองยุบ ของลมหายใจเขาออก ขณะที่เราสังเกตอาการเกิดดับอยูนั้น แมจะเปนเวทนาก็ตาม เมื่อเราเห็น อาการเกิดดับไปเรื่อย ๆ จิตเราจะรูสึกตื่นตัวขึ้น มีพลังมากข้ึน ถาเราสังเกต ที่ความรูสึกจะเห็นวา ขณะเรากําหนดอาการเกิดดับน้ัน ผลที่ตามมา คือ จะมีความต่ืนตัวมากข้ึน
เมื่อจิตเราตื่นตัวมากข้ึน ส่ิงที่ตองสังเกตตอไปก็คือ อาการเกิดดับ
39


































































































   51   52   53   54   55